Page 262 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 262
ข้อ ประเด็น ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65) หลังกิจกรรมปฏิบัติการ (N= 65)
ค่าเฉลี่ย ค่า ค่า ล�าดับ ค่าเฉลี่ย ค่า ค่า ล�าดับ
เบี่ยงเบน ต�่าสุด- เบี่ยงเบน ต�่าสุด-
มาตรฐาน สูงสุด มาตรฐาน สูงสุด
9 อาหารถุงๆ จาก 2.6 1.129 1-5 13 4.0976 0.96966 1-5 1
ร้านข้าวแกง
10 ผลไม้ตามฤดูกาล 2.91 1.195 1-5 9 missing missing missing
11 ขนมกรุบกรอบซองๆ 3.22 1.099 1-5 4 4.0976 0.86037 1-5 2
12 ขนมหวานไทยฯ 3.22 1.053 2-5 5 3.4146 0.83593 1-5 5
เช่น ของทอด
ขนมเชื่อม ข้าว
เหนียวหน้าสังขยา
13 ขนมปัง เบเกอรี่ 2.92 1.136 1-5 8 3.625 0.97895 1-5 4
เค้ก
14 เครื่องดื่มประเภท 3.34 1.25 1-5 2 3.3902 0.97155 1-5 6
น�้าหวาน น�้าปั่น
น�้าอัดลม ชาไข่มุก
กาแฟ
รวม 43.4727 8.09173 24-63 missing missing missing
จากตารางที่ 4 สรุปว่าก่อนท�ากิจกรรมปฏิบัติการเยาวชนมีพฤติกรรมการ
บริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไป มีการรับประทานอาหารส�าเร็จรูป เช่นมาม่า
ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง เป็นอันดับ 1 (3.62) รองลงมาคือ เครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน
น�้าปั่น น�้าอัดลม ชาไข่มุก กาแฟ (3.34) และอาหารทอดทุกชนิด (3.32) ตามล�าดับ
ส่วนอาหารที่รับประทานน้อยที่สุด คือ อาหารน�้าพริกผักจิ้ม (2.59) รองลงมาคือ
อาหารถุงจากร้านข้าวแกง (2.6)และ อาหารปิ้งย่าง (2.66) ตามล�าดับ ระยะหลังท�า
กิจกรรมปฏิบัติการ เยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไปเล็กน้อย ดังจะเห็นได้
จากการจัดล�าดับประเภทพฤติกรรมการบริโภคที่บ่อยที่สุด คือ อาหารถุงจากร้าน
ข้าวแกง และขนมกรุบกรอบซอง (4.0976) รองลงมาคือ อาหารปิ้งย่าง (3.7561)
และขนมปัง เบเกอรี่ เค้ก (3.625) ตามล�าดับ
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 261
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research