Page 301 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 301
และด้�นก�รสูบบุหรี่พบว่�เย�วชนมีส่วนร่วมในก�รจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่เพิ่ม
ม�กขึ้น (p<.05) และมีอัตร�ก�รเลิกบุหรี่สำ�เร็จในระยะ 3 เดือนและระยะ 6 เดือน
คือ 93.9 และ75.8 ต�มลำ�ดับ
5.1 บทน�าและกระบวนการศึกษา
ที่มาและความส�าคัญของปัญหา
ก�รมีสุขภ�วะที่ดีเป็นสิ่งจำ�เป็นต่อมนุษย์และควรได้รับก�รดูแลและส่งเสริม
ในทุกช่วงวัย โดยเฉพ�ะสุขภ�วะในกลุ่มเย�วชน เนื่องจ�กพบว่�เย�วชนไทยจำ�นวน
ม�กมีพฤติกรรมสุขภ�พที่ไม่เหม�ะสมซึ่งนำ�ไปสู่ก�รมีสุขภ�วะที่ไม่ดีในอน�คต จ�ก
ก�รสำ�รวจข้อมูลในกลุ่มเด็กและเย�วชนไทยจำ�นวน 16,788 คน จ�ก 27 จังหวัดทั่ว
ประเทศ ครอบคลุม 9 ภูมิภ�คพบว่� เย�วชนไทยมีพฤติกรรมท�งก�ยที่เหม�ะสม
และไม่มีพฤติกรรมเนือยนิ่งเพียง 21.8 % และพบว่�เย�วชนส่วนใหญ่ไม่มีส่วนร่วม
ในกิจกรรมกีฬ�ม�กถึงร้อยละ 53.4 (ศูนย์วิจัยกิจกรรมท�งก�ยเพื่อสุขภ�พ &
สำ�นักง�นกองทุนสนับสนุนก�รสร้�งเสริมสุขภ�พ, 2559) นอกจ�กนี้เย�วชนมี
พฤติกรรมเสี่ยงในด้�นก�รรับประท�นอ�ห�รเช่น ก�รรับประท�นอ�ห�รสำ�เร็จรูป
อ�ห�รจ�นด่วน ขนมกรุบกรอบและอ�ห�รที่มีไขมันสูง โดยพบว่�กลุ่มประช�กร
เด็กและวัยรุ่นไทยมีคว�มถี่ในก�รรับประท�นอ�ห�รประเภทดังกล่�วสูงกว่�ช่วงวัย
อื่นๆ (สำ�นักง�นสถิติแห่งช�ติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2561)
ปัญห�ก�รสูบบุหรี่และย�เส้นเป็นพฤติกรรมโดยจ�กก�รสำ�รวจพฤติกรรมก�รสูบ
บุหรี่ในประเทศไทยพบว่� เย�วชนที่อยู่ในช่วงอ�ยุ 15-19 ปี มีพฤติกรรมก�รสูบ
บุหรี่ม�กถึง 447,085 คน คิดเป็นร้อยละ 9.7 (สำ�นักง�นสถิติแห่งช�ติ, 2561) และ
สุดท้�ยปัญห�สุขภ�วะท�งจิตของเย�วชนไทยเป็นอีกปัญห�สำ�คัญที่ควรได้รับก�ร
ดูแล เนื่องจ�กเย�วชนมีคะแนนสุขภ�พจิตโดยเฉลี่ยตำ่�กว่�ประช�กรกลุ่มอื่นและตำ่�
กว่�คะแนนสุขภ�พจิตโดยเฉลี่ยของประเทศไทย (สำ�นักง�นสถิติแห่งช�ติ กระทรวง
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2563) จ�กข้อมูลจึงเป็นได้ว่�เย�วชนไทยมี
พฤติกรรมเสี่ยงและไม่เหม�ะสมในด้�นก�รออกกำ�ลังก�ยและพฤติกรรมก�รท�ง
ก�ย ก�รบริโภคอ�ห�ร สุขภ�วะท�งจิตและก�รสูบบุหรี่
300 พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research