Page 302 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 302

สำ�หรับพฤติกรรมสุขภ�พที่ไม่เหม�ะสมของเย�วชนใน 4 ด้�นคือ ก�รออก

            กำ�ลังก�ยและกิจกรรมท�งก�ย ด้�นก�รบริโภคอ�ห�ร สุขภ�วะท�งจิตและ
            พฤติกรรมก�รสูบบุหรี่ ส่งผลต่อพัฒน�ก�รและสุขภ�วะของเย�วชนเป็นอย่�งม�ก
            โดยพบว่�ก�รมีพฤติกรรมท�งก�ยที่น้อยหรือไม่เพียงพอ ส่งผลเสียต่อระบบ
            เผ�ผล�ญพลังง�นของร่�งก�ยและเพิ่มปัจจัยเสี่ยงของก�รเกิดโรคเรื้อรังต่�งๆ ต�มม�
            (ธิติ ณ�นปรีช�เศรษฐ, 2561) พฤติกรรมก�รรับประท�นอ�ห�รที่ไม่เหม�ะสมเช่น
            ก�รรับประท�นอ�ห�รที่มีไขมันและนำ้�ต�ลสูง เป็นส�เหตุของโรคอ้วนในเด็ก

            (ภัคนันท์ ตรงจิตก�รุณย์, 2565) และก�รมีสุขภ�วะท�งจิตที่ดี ส่งผลดีต่อก�ร
            บริห�รจัดก�รชีวิตและก�รปรับสมดุลของอ�รมณ์ (กรมสุขภ�พจิต & unicef,
            2565) และสุดท้�ยพฤติกรรมก�รสูบบุหรี่ ทำ�ให้เกิดคว�มเสี่ยงในก�รเกิดโรคเรื้อรัง
            ต่�งๆเช่นโรคมะเร็ง โรคถุงลมโป่งพอง และโรคหลอดเลือดหัวใจได้ (อดิศักดิ์
            ผลิตผลก�รพิมพ์, 2560) จ�กข้อมูลเกี่ยวกับปัญห�พฤติกรรมสุขภ�พและสุขภ�วะ
            ของเย�วชนดังที่ได้กล่�วม� สอดคล้องกับก�รเฝ้�ระวังคว�มเสี่ยงพฤติกรรมสุขภ�พ
            ของประช�กรเย�วชนไทยในปี พ.ศ. 2564 ที่ได้กล่�วถึงพฤติกรรมเสี่ยงที่ควรได้รับ

            ก�รดูแลและส่งเสริมได้แก่ พฤติกรรมก�รออกกำ�ลังก�ย พฤติกรรมท�งก�ยและ
            พฤติกรรมเนือยนิ่ง ปัญห�สุขภ�พจิตและคว�มเสี่ยงซึมเศร้� ก�รบริโภคอ�ห�ร
            ที่ไม่เหม�ะสม รวมถึงก�รสูบบุหรี่ที่พบว่�ผู้สูบที่อ�ยุม�กกว่� 15 ปี ในบ�งภ�ค
            ของประเทศไม่ลดลง รวมถึงในเขตกรุงเทพมห�นครมีจำ�นวนผู้สูบบุหรี่ที่เพิ่มขึ้น
            (สำ�นักง�นกองทุนสนับสนุนก�รสร้�งเสริมสุขภ�พ, 2563)

                    ก�รส่งเสริมสุขภ�วะที่ดีและพฤติกรรมสุขภ�พที่เหม�ะสมต�มหลัก 3อ 2ส
            โดยกรมอน�มัย (ศูนย์สื่อส�รส�ธ�รณะ กรมอน�มัย, 2563) ได้ระบุวิธีก�รส่งเสริม
            สุขภ�วะที่ดีไว้ดังนี้ 1. อ.อ�ห�ร ก�รรับประท�นอ�ห�รครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอ�ห�ร
            รสจัดเช่น รสหว�น มัน เค็ม 2. อ.ออกกำ�ลังก�ย ก�รเคลื่อนไหวร่�งก�ยและออก
            กำ�ลังก�ยอย่�งน้อย 5 วัน/สัปด�ห์ วันละ 30 น�ที 3. อ.อ�รมณ์ ก�รจัดก�รอ�รมณ์
            และก�รผ่อนคล�ยคว�มเครียด 4. ส.ไม่สูบบุหรี่ ก�รลด ละ เลิก ก�รสูบบุหรี่ 5. ส.
            ไม่ดื่มสุร� ก�รไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งจ�กก�รทบทวนถึงปัญห�พฤติกรรม

            สุขภ�พและสุขภ�วะของเย�วชนที่ได้กล่�วม� พบว่�เย�วชนควรได้รับก�รส่งเสริม
            สุขภ�วะในด้�นของก�รบริโภคอ�ห�ร ก�รออกกำ�ลังก�ย อ�รมณ์และก�รสูบบุหรี่


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   301
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307