Page 308 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 308
การพัฒนาสุขภาวะในเยาวชน
กรมอน�มัย กระทรวงส�ธ�รณสุขได้แนะนำ�วิธีก�รส่งเสริมสุขภ�วะ
ให้แก่ประช�ชนโดยมีหลักปฏิบัติที่เรียกว่� 3อ.2ส. ซึ่งประกอบด้วย 1.อ.อ�ห�ร
ก�รรับประท�นอ�ห�รให้ครบ 5 หมู่และหลีกเลี่ยงก�รรับประท�นอ�ห�รรสจัดเกินไป
เช่น รสหว�น มัน เค็ม 2.อ.ออกกำ�ลังก�ย เคลื่อนไหวร่�งก�ยและออกกำ�ลังก�ย
เป็นประจำ�ทุกสัปด�ห์ อย่�งน้อยสัปด�ห์ละ 3 วัน วันละ 30 น�ที 3.อ.อ�รมณ์
ก�รจัดก�รอ�รมณ์ ฝึกสม�ธิ และก�รผ่อนคล�ยเครียด 4.ส.ไม่สูบบุหรี่ ลด ละ เลิก
ก�รสูบบุหรี่ เพร�ะเป็นอันตร�ยทั้งต่อตนเองและผู้คนรอบข้�ง 5.ส.ไม่ดื่มสุร�หรือ
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์(ศูนย์สื่อส�รส�ธ�รณะ กรมอน�มัย, 2563) โดยจ�กก�ร
ทบทวนวรรณกรรมพบว่�ปัญห�และพฤติกรรมสุขภ�พที่ควรเฝ้�ระวังในเย�วชน
ไทยได้แก่ พฤติกรรมก�รบริโภคอ�ห�ร ก�รสูบบุหรี่ สุขภ�วะท�งใจ และก�รสูบ
บุหรี่ (สำ�นักง�นกองทุนสนับสนุนก�รสร้�งเสริมสุขภ�พ, 2563) ดังนั้นผู้วิจัย
ประยุกต์หลักก�รส่งเสริมสุขภ�พ3อ.2ส.ของกรมอน�มัย ประยุกต์เป็นหลัก 3อ.1ส.
ซึ่งประกอบด้วย1.อ.อ�ห�ร 2.อ.ออกกำ�ลังก�ย 3.อ.อ�รมณ์ 4.ส.ไม่สูบบุหรี่ เพื่อ
สอดคล้องกับปัญห�และพฤติกรรมสุขภ�พของเด็กและเย�วชน
กรอบแนวคิดการวิจัย
กรอบแนวคิดในก�รวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยพัฒน�ขึ้นจ�กทฤษฎีก�รรับรู้
สมรรถนะแห่งตนของ Bandura (1997) โดยใช้หลัก 3อ.1ส ของกรมอน�มัย
เพื่อพัฒน�สุขภ�วะในเด็กและเย�วชน ดังแสดงในแผนภ�พ
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 307
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research