Page 36 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 36

ข้อ     ประเด็น       ก่อนกิจกรรมปฏิบัติการ  หลังกิจกรรมปฏิบัติการ
                                      (N = 187)              (N = 161)

                                ล�าดับ Mean± SD. Min-Max ล�าดับ Mean± SD.  Min-Max
             13. ขนมปัง เบเกอรี่ เค้ก  6  2.89±1.15  1-5  3  3.38±.99  1-5
             14. เครื่องดื่มประเภท   10  2.18±1.17  1-5  4  3.22±1.19  1-5
                 น�้าหวาน น�้าปั่น
                 น�้าอัดลม ชาไข่มุก
                 กาแฟ
                    รวม              2.79±.34 2.00-3.64    3.11±.42 1.43 – 4.43


                    จากตารางที่ 4 สรุปว่าก่อนท�ากิจกรรมปฏิบัติการเยาวชนมีพฤติกรรมการ
            บริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไปรับประทานอาหารถุงๆจากร้านข้าวแกงเป็น
            อันดับ 1 (3.26±1.07)รองลงมาคืออาหารปิ้งย่าง (3.17±1.07) ส่วนอาหารที่รับ
            ประทานน้อยที่สุดคือขนมกรุบกรอบซอง ๆ (2.16±1.09) แกงกะทิทุกชนิด
            (2.18±1.02) อาหารส�าเร็จรูปและอาหารแช่แข็ง (2.18±1.02) และ เครื่องดื่มเข้า

            น�้าตาล (2.18±1.17) ระยะหลังท�ากิจกรรมปฏิบัติการ เยาวชนมีพฤติกรรมการ
            บริโภคไม่เปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการจัดล�าดับประเภทพฤติกรรมการบริโภคที่
            บ่อยที่สุด คือ อาหารถุงๆ จากร้านข้าวแกง (3.87±1.00) รองลงมาคืออาหารปิ้งย่าง
            (3.58±0.91) และขนมกลุ่มขนมปัง เบเกอรี และเค้ก (3.38±.99) ส่วนพฤติกรรม
            การบริโภคที่เยาวชนบริโภคน้อยที่สุดหลังท�ากิจกรรมปฏิบัติการคือ อาหารน�้าพริก
            ผักจิ้ม (2.76±.99) และอาหารต้มไม่ใส่กะทิ (2.76±.85)



















                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   35
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41