Page 423 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 423

คิดเป็นร้อยละ 28 รองลงมาคือ อื่นๆหลายๆ อาการร่วมกัน คิดเป็นร้อยละ 24 และ

        กระวนกระวาย คิดเป็นร้อยละ 16 โดยส่วนใหญ่ไม่ทราบวิธีการดูแลตนเองระหว่าง
        เลิกบุหรี่ถึงร้อยละ56  รองลงมา คือ ทราบ คิดเป็นร้อยละ 32 และ ไม่ระบุ คิดเป็น
        ร้อยละ 12
                วิธีการดูแลตนเองที่เลือกใช้มากที่สุด คือ การออกก�าลังกายที่ชอบ คิดเป็น

        ร้อยละ 52 รองลงมาคือ การดื่มน�้า คิดเป็นร้อยละ 48 และ การหลีกเลี่ยงไม่เข้าใกล้
        คนสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ 40 โดยมีการดูแลจากพยาบาลและทีมสหวิชาชีพในศูนย์ฝึก
        และอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา ถึงร้อยละ 76 ไม่ทราบ คิดเป็นร้อยละ 16
        และไม่ระบุคิดเป็นร้อยละ 8 ตามล�าดับ ซึ่งวิธีการดูแลช่วยเหลือที่ได้รับ มากที่สุด คือ

        การพูดให้ก�าลังใจ คิดเป็นร้อยละ 48 รองลงมา คือ วิธีการเอาชนะการถอนนิโคตินและ
        สื่อสารเชิงบวกเติมพลังบวกให้รู้สึกมั่นใจว่าท�าได้ คิดเป็นร้อยละ 28 และ ไว้วางใจ
        และเชื่อมั่นว่าเยาวชนจะเลิกได้ คิดเป็นร้อยละ 20 ตามล�าดับ
                การติดตามการลดละเลิกบุหรี่ที่ระยะ บพ 3เด็กและเยาวชนลด ละ เลิก

        บุหรี่ได้ ร้อยละ 44 และการติดตามที่ระยะ า่วบพ นอืดเ 6เด็กและเยาวชนลด ละ
        เลิกบุหรี่ได้คิดเป็นร้อยละ 48 เหตุผลที่ท�าให้เด็กแบะเยาวชนยังลด ละ เลิกบุหรี่ไม่ได้
        เป็นเพราะตัวเองยังมีความรู้สึกกลัวไม่มั่นใจว่าตนเองจะเลิกได้และยังอยู่ใกล้สิ่งแวดล้อม
        หรือมีเพื่อนที่สูบรวมถึงสภาพแวดล้อมที่มีบุหรี่ให้ง่ายต่อการสูบ ยังมีความคิดว่า

        เมื่อสูบบุหรี่จะช่วยในการคลายความเครียดและมีอาการถอนนิโคตินกระวนกระวาย
        หงุดหงิดง่าย จนท�าให้ไม่สามารถเลิกได้ ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการช่วยเหลือเพิ่มเติม จึงจะ
        ช่วยให้เด็กและเยาวชนเกิดความมั่นใจในตนเองที่จะลดละเลิกบุหรี่ได้ส�าเร็จ แม้ว่า
        จะมีการจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์ฝึกฯให้ปลอดบุหรี่ แต่ยังมีบางสถานการณ์ที่เด็กและ

        เยาวชนยังพบเห็นบรรยากาศหรือแบบอย่างสิ่งเร้าที่เอื้อต่อการอยากเสพบุหรี่ซ�้าก็
        ส่งผลให้เด็กและเยาวชนเกิดการเลิกบุหรี่ไม่ส�าเร็จ เช่น เจ้าหน้าที่สูบบุหรี่ใกล้พื้นที่
        สถานควบคุม มีเศษก้นกรองมวนบุหรี่ทิ้งในบริเวณพื้นที่ศูนย์ฝึกฯ ซึ่งเป็นปัจจัย
        ส�าคัญที่ท�าให้เด็กและเยาวชนเลิกบุหรี่ไม่ส�าเร็จได้

                การจัดสิ่งแวดล้อมในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตาให้
        เป็นพื้นที่สีขาวปลอดบุหรี่ พร้อมทั้งมีการก�าหนดมาตรการชัดเจนในการห้ามน�า



       422   พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   418   419   420   421   422   423   424   425   426   427   428