Page 418 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 418
6.3 การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
พฤติกรรมการบริโภคของเด็กและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชนชายบ้านมุทิตา
พฤติกรรมการบริโภคของเด็กและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและ
เยาวชนชายบ้านมุทิตา จากการศึกษานี้พบว่า พบว่าก่อนท�ากิจกรรมความรู้เรื่อง
การทานอาหารเพื่อสุขภาพ เยาวชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่รับประทานทั่วไป
มีการรับประทานอาหารส�าเร็จรูป เช่นมาม่า ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง เป็นอันดับ 1
(4.08±1.115) รองลงมาคือ เครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน น�้าปั่น น�้าอัดลม ชาไข่มุก
กาแฟ (3.34) และอาหารทอดทุกชนิด (3.96±0.978) ตามล�าดับ ส่วนอาหาร
ที่รับประทานน้อยที่สุด คือ อาหารผัดๆ น�้ามัน (2.72±0.843) รองลงมาคือ อาหารถุง
จากร้านข้าวแกง (2.76±1.052) และแกงกะทิทุกชนิด (2.84±0.898) ตามล�าดับ
ส่วนระยะหลังท�ากิจกรรมความรู้เรื่องการทานอาหารเพื่อสุขภาพ เยาวชนมีพฤติกรรม
การบริโภคเปลี่ยนไป ดังจะเห็นได้จากการจัดล�าดับประเภทพฤติกรรมการบริโภคที่
บ่อยที่สุด คือ อาหารถุงๆ จากร้านข้าวแกง (3.84±0.89815) รองลงมาคือ อาหาร
ผัดๆ น�้ามัน (3.7083±0.80645) และขนมปัง เบเกอรี่ เค้ก (3.68±0.74833) ตาม
ล�าดับ ส่วนพฤติกรรมการบริโภคที่เยาวชนบริโภคน้อยที่สุดหลังท�ากิจกรรมปฏิบัติ
การคือ อาหารต้มไม่ใส่กะทิ (2.6±0.707) รองลงมา คืออาหารย�าๆ รสจัด
(2.92±0.862) และอาหารน�้าพริก ผักจิ้ม (3.16±0.943) ตามล�าดับ
เยาวชนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโภชนาการที่เสี่ยง(ไม่ควรบริโภคบ่อย
เกินไป) เช่น มาม่า ไส้กรอก อาหารแช่แข็ง และเครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน น�้าปั่น
น�้าอัดลม ชาไข่มุก กาแฟ เครื่องดื่มประเภทน�้าหวาน น�้าปั่น น�้าอัดลม ชาไข่มุก
กาแฟ และอาหารทอดทุกชนิด เป็นต้น โภชนาการที่มีประโยชน์ ควรบริโภค
เป็นประจ�าอยู่ในระดับดี เช่น อาหารถุงจากร้านข้าวแกง อาหารผัดๆ น�้ามัน
อาหารน�้าพริก ผักจิ้ม อาหารต้มไม่ใส่กะทิ เป็นต้น
เมื่อเปรียบเทียบทั้งพฤติกรรมการบริโภคอาหารทั่วไป ทัศนคติ (ความชอบ
เกี่ยวกับอาหารที่ชอบ และความรู้หรือความตระหนักเกี่ยวกับพฤติกรรมบริโภคต่อ
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 417
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research