Page 422 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 422

พฤติกรรมการเลิกบุหรี่และการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ ของเด็ก

            และเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา
            (มุทิตาปลอดบุหรี่)
                    พฤติกรรมการเลิกบุหรี่และการจัดการสิ่งแวดล้อมบุหรี่ ของเด็กและ

            เยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา จากการศึกษานี้ พบว่า
            ประวัติการสูบบุหรี่เพื่อการบ�าบัดของศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบ้านมุทิตา
            พบว่า ประเภทของยาสูบที่ใช้มากที่สุดคือ ยาสูบหลายชนิดรวมกันมีอะไรก็สูบ
            ทั้งบุหรี่โรงงาน บุหรี่ไฟฟ้า บารากูร์ บุหรี่น�าเข้า และบุหรี่มวนเอง คิดเป็นร้อยละ 96

            รองลงมาเป็นบุหรี่น�าเข้าและบุหรี่ไฟฟ้า คิดเป็นร้อยละ 76 เท่ากัน และ บุหรี่โรงงาน
            คิดเป็นร้อยละ 72 ตามล�าดับ
                    ประวัติเวลาในการสูบบุหรี่มวนแรก พบว่า เวลาที่มีการสูบบุหรี่มวนแรก
            มากที่สุด คือหลายช่วงเวลา เช่น ตื่นนอน หลังอาหาร ไปเรียนนอนน่ืตงัลห นางา�ท/

            88 ะลยอ้รน็ปเดิค รองลงมา คือ ไปโรงเรียน และไม่แน่นอนคิดเป็นร้อยละ 56 และ
            ช่วงเวลาหลังล้างหน้าแปรงฟัน หลังรับประทานอาหารเช้า คิดเป็นร้อยละ 52
            เป็นต้น
                    ประวัติประสบการณ์เคยเลิกบุหรี่ มากที่สุด คือเลิกสูบเพราะถูกจับเข้าศูนย์ฝึกฯ

            คิดเป็นร้อยละ 24 รองลงมาคือ การลดจ�านวนการสูบลง คิดเป็นร้อยละ 20 และ
            มีความต้องการในการเลิกบุหรี่มากที่สุด คือ ต้องการเลิก คิดเป็นร้อยละ 64 รองลง
            มาคือ ไม่ต้องการเลิก คิดเป็นร้อยละ 24 และไม่ระบุ คิดเป็นร้อยละ 12 ตามล�าดับ
                    ประวัติการสูบบุหรี่ของสมาชิกในครอบครัว มี สมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่

            เช่น พ่อ พี่ชาย ลุง ตา ปู อา แม่ สามี น้องชาย เพื่อน เป็นต้น คิดเป็นร้อยละ 68 และ
            ไม่มีสมาชิกในครอบครัวสูบบุหรี่ คิดเป็นร้อยละ 32 ส�าหรับสาเหตุที่เลิกบุหรี่ในครั้งนี้
            อันดับหนึ่งคือ ด้านครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 28 รองลงมาคือ ด้านสุขภาพ และ
            ด้านเศรษฐกิจ คิดเป็นร้อยละ 12

                    สาเหตุที่สูบบุหรี่ มากที่สุดคือ ตามเพื่อน คิดเป็นร้อยละ 76 รองลงมา คือ
            อยากลอง คิดเป็นร้อยละ 64 และเครียด คิดเป็นร้อยละ 60 ส�าหรับอาการถอน
            นิโคตินระหว่างที่ก�าลังเลิกสูบบุหรี่ อาการที่เป็นมากที่สุด คือ อยากกลับไปสูบอีก


                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   421
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   417   418   419   420   421   422   423   424   425   426   427