Page 16 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 2 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 16

เกณฑ์และวิธีการการคัดแยก



                   จ าเป็นต้องมีการกู้ชีพ/มาตรการรักษาชีวิตหรือไม่      ใช่          วิกฤต แดง ESI - 1
                                        ไม่ใช่

                      เสี่ยงสูง / การรู้สติไม่ปกติ / เจ็บปวดรุนแรง      ใช่          วิกฤต แดง ESI - 2
                                  ไม่ใช่
                         Danger zone vital signs

                <3m(T>38)    > 180      > 150                             ใช่
                3m – 3 ปี     >160       >40
                3- 8 ปี      >140       >30                            จ าเป็นต้องใช้ทรัพยากรกี่ประเภท

                >8 ปี    > 100     >20          < 92 %               > 1 อย่าง       1 อย่าง       ไม่ต้องใช้
                            PR         RR       SpO2
                                                                     เร่งด่วน        ไม่รุนแรง    ทั่วไป


                                                                     ESI-3            ESI - 4     ESI - 5

                     Modified ESI v.4                                    ไม่มีผู้ป่วย (มารับบริการอื่น)









                             Triage ส าหรับบุคลากรทางการแพทย์  1



                             Triage ส าหรับบุคลากรทางการแพทย์  2




                     5.4  ขั้นตอนการจ าแนกประเภทผู้ป่วยในหน่วยฉุกเฉิน (Step of triage in emergency unit)
               ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้
                             5.4.1 การซักประวัติสุขภาพ เป็นการสัมภาษณ์ผู้ป่วยและญาติ เพื่อสอบถามอาการส าคัญที่น า
               ผู้ป่วยมาโรงพยาบาล พร้อมกันนั้นท าการประเมินสภาพทั่ว ๆ ไป ของผู้ป่วยอย่างรวดเร็ว ถ้าเป็นผู้ป่วยในภาวะ

               ฉุกเฉินให้การช่วยเหลือทันที โดยส่งผู้ป่วยไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุด ขั้นตอนอื่น ๆ เช่น การลงทะเบียน การ
               บันทึกข้อมูล ให้จัดการภายหลัง หลังจากช่วยเหลือผู้ป่วยแล้ว การซักประวัติสุขภาพ ประกอบด้วย อาการ



               16
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21