Page 70 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 2 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 70
ช่วยเหลือ ขณะที่เรายังอยู่เพื่อช่วยเหลือ - ขอความช่วยเหลือจากคนรอบข้าง ในขณะเดียวกัน อย่าหลุดสายตา
จากผู้ประสบภัย
3. ให้ลอยตัวอยู่ได้-ป้องกันการจมใต้น้ า โดยการ – พยายามอย่าลงน้ าเพื่อไม่ให้ผู้ประสบภัยจมตัว
คุณ - ใช้กิ่งไม้หรือท่อยาวในการยื่นเข้าหาผู้ประสบภัย – หากคุณก าลังจมน้ า อย่าตกใจ – หากคุณก าลังจมน้ า
ให้โบกมือขอความช่วยเหลือ ในทันทีและลอยตัวไว้
4. น าผู้ประสบภัยขึ้นจากน้ า-หากปลอดภัยในการท า โดยการ – น าผู้ประสบภัยขึ้นจากน้ า โดยไม่
จ าเป็นต้องลงน้ า - ช่วยเหลือผู้ประสบภัย โดยบอกทิศทางการออกจากน้ า - หากตัวผู้ช่วยเหลือปลอดภัย ให้เข้า
ช่วยโดยใช้อุปกรณ์ ที่ลอยตัวได้
5. ให้การดูแลตามกรณี-เรียกความช่วยเหลือทางการแพทย์โดยการ - หากไม่หายใจ ให้เริ่มกู้ฟื้นคืน
ชีพ โดยเริ่มผายปอด ก่อนทันที - หากหายใจ ให้อยู่กับผู้ประสบภัยจนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะ
มาถึง ส่งถึงมือแพทย์ หรือ โรงพยาบาล หากมีอาการ การป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัยทางน้ า
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยขึ นจากน าด้วยวิธีการต่างๆ
วิธีช่วยเหลือผู้ประสบภัยบริเวณผิวน ้ำหรือใกล้ผิวน ้ำทำงด้ำนหน้ำ ผู้ประสบภัยที่มีกำรตอบสนอง
(Active Victim Front Rescue)
เมื่อไร: ผู้ประสบภัยมีการตอบสนอง พูดคุยรู้เรื่อง สามารถปฏิบัติตามค าสั่งได้
ท าไม: ไม่สามารถช่วยด้วยวิธีอื่นได้และผู้เข้าช่วยต้องได้รับการฝึกมาเป็นอย่างดี
ข้อควรระวัง: ต้องระวังเก็บสายอุปกรณ์ให้ดีและผู้ประสบภัยอาจเข้ามากอดรัดได้
วิธีการช่วยเหลือ: - เข้าหาผู้ประสบภัยทางด้านหน้า เมื่อใกล้ถึงผู้ประสบภัย หยิบจับ rescue tube
ออกจากแขน ด้วยมือทั้งสอง และเริ่มดันไปด้านหน้า ยังคงเตะขาเพื่อคงแรงเฉื่อย
- กด rescue tube ลงในน้ าเล็กน้อย และไปยังหน้าอกของผู้ประสบภัย ดูแลให้
rescue tube อยู่ระหว่างผู้เข้าช่วยเหลือและผู้ประสบภัย
- กระตุ้นให้ผู้ประสบภัยหยิบจับ rescue tube และ กอดจับไว้ คงการเตะ เหยียด
แขนเต็มที่และเคลื่อนผู้ประสบภัยไปยังฝั่งที่ปลอดภัย
70