Page 15 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 15

4) ศูนยอพยพหรือบานตองคำนึงถึงสภาพผูสูงอายุ วัฒนธรรม การเลือกสถานที่สำหรับ
               จัดตั้งศูนยอพยพตองเลือกสถานที่ปลอดภัย เขาถึงไดงาย และมีพื้นที่และอาคารเหมาะกับการรองรับ

               ผูประสบภัย การจัดการเรื่องสวัสดิการ อาหาร สุขาภิบาลและความเปนอยูมีความสะดวก การรักษาพยาบาล
               และการควบคุมปองกันโรคเปนไปไดอยางทั่วถึง

                                         5) สนับสนุนการประสานงาน ความรวมมือและการแลกเปลี่ยน การประสานงานกับ
               หนวยงานหรือองคกรที่ใหความชวยเหลือ ความรวมมือในการจัดการศูนยอพยพ การตรวจสอบและประเมิน
               การจัดการ รวมถึงมีการแลกเปลี่ยนการจัดการรูปแบบการจัดการในกลุมเปราะบาง เชนเด็ก ผูพิการ เปนตน



               4. การดูแลผูประสบภัยกลุมผูพิการ
                     ผูพิการ ตามพระราชบัญญัติสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 หมายถึง บุคคลซึ่งมี
               ขอจำกัดการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเขาไปมีสวนรวมทางสังคม เนื่องจากมีความบกพรองทางการ
               เห็น  การไดยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร อารมณ พฤติกรรม สติปญญา การเรียนรูหรือความบกพรองอื่นใด

               ประกอบกับมีอุปสรรคในดานตางๆ และมีความจำเปนพิเศษอื่นๆ ที่จะตองไดรับความชวยเหลือดานใดดานหนึ่ง
               เพื่อใหสามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือเขาไปมีสวนรวมทางสังคมไดอยางบุคคลทั่วไป

                     ในสถานการณสาธารณภัยผูพิการเปนกลุมเปราะบางที่มีความยากลำบากในการดำรงชีวิตประจำวัน
               จำเปนตองไดรับการชวยเหลือ  แตดวยความไมเขาใจในธรรมชาติของผูพิการ  ทำใหบางครั้งผูพิการตองเผชิญ
               กับความทุกขยากอยางโดดเดี่ยว  ตัวอยางเชนในเหตุการณมหาอุทกภัยของประเทศไทยในป พ.ศ. 2554 คุณ

               แมของลูกชายที่มีอาการออทิสติกวัย 10 ขวบเลาวา “แมจะมีความเสี่ยงที่ตองเผชิญน้ำทวมก็ตองทนอยูเพราะ
               ไมสามารถพาลูกกลับไปอยูบานญาติที่ตางจังหวัดได เนื่องจากญาติๆ รังเกียจ เพราะไมเขาใจวิธีการสื่อสารและ
               ระบบการทำงานของสมองของเด็กออทิสติกซึ่งตางจากคนทั่วไป ที่บางครั้งรูสึกเกลียดกลัวในสิ่งที่คนธรรมดาไม

               คิดวาเปนเรื่องนากลัวจนแสดงอาการปองกันตัวเองรุนแรง ทำใหผูพบเห็นเขาใจวามีพฤติกรรมกาวราว ไร
               เหตุผลสังคมมองวาเด็กออทิสติกเปนคนบา เปนเด็กเลวทราม” เธอตัดสินใจวาหากน้ำทวมจนอยูไมไดจริงๆ ก็
               จะขอยอมตายไปดวยกันกับลูกเพราะไมมีที่ไป

                     4.1  ปจจัยที่มีผลตอภาวะสุขภาพของผูพิการที่ประสบภัย
                         4.1.1  ปจจัยภายในที่เกิดจากขอจำกัดของผูพิการเอง  ไดแก

                                  1) ขอจำกัดของการรับขอมูลขาวสารและการสื่อสาร  ผูพิการทุกประเภทมีขอจำกัดใน
               การรับขอมูล ขาวสาร เชน คนตาบอด ไมสามารถรับขาวสารที่เปนภาพและสื่อสิ่งพิมพได คนหูหนวก ไม
               สามารถรับขาวสารจากสื่อเสียงได เปนตน ทำใหสื่อสารไมได การสื่อสารไมไดเปนเหตุใหเกิดอุปสรรคในการ

               รับรูการแจงเตือนภัย หรือการแจงการชวยเหลือ
                                  2) ลักษณะเฉพาะที่เกิดจากความพิการแตละประเภท เชน ผูพิการทางจิตใจหรือ
               พฤติกรรม  หากขาดยาจะมีอาการรุนแรงขึ้น  อาจตื่นกลัวสาธารณภัยมากกวาคนปกติทั่วไป ผูพิการทาง

               สติปญญาอาจไมรับรูถึงอันตรายที่เกิดจากสาธารณภัย เปนตน
                         4.1.2 ปจจัยภายนอก
                                  1) ความชวยเหลือ  ผูพิการมีความสามารถในการชวยเหลือตนเองไดนอย  ใน

               สถานการณสาธารณภัยอาจไดรับความชวยเหลือจากครอบครัว ชุมชนนอยลง เนื่องจากภารกิจของครอบครัว
               และชุมชนมีมาก



                                                                                                       15
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20