Page 12 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 12

ไว พรอมทั้งใหคนในครอบครัวเก็บไวดวย เอกสารสำคัญตางๆควรทำสำเนาไว ตัวจริง
                                    หยิบไดสะดวกและตัวสำรองฝากสมาชิกครอบครัวที่อาศัยนอกชุมชน

                                  -  สิ่งที่ตองคำนึงถึงเปนพิเศษ ถาผูสูงอายุตองการผูดูแลในชวงสาธารณภัยจะมีผูดูแล
                                    หรือไม ผูสูงอายุที่ตองใชรถเข็นจะอพยพอยางไร เสนทางและวิธีการอพยพ ผูสูงอายุ

                                    ที่ตาบอดหรือสายตามองเห็นไมชัดตองเตรียมไมเทา ดูแลสิ่งแวดลอมใหเดินไดสะดวก
                                    และระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น สำหรับผูสูงอายุที่มีความบกพรองดานการไดยินถาใช
                                    อุปกรณชวยฟง จะตองเตรียมแบตเตอรี่สำรอง และการสื่อสารที่ชัดเจน
                              3.4.2  ระยะเกิดสาธารณภัย การพยาบาลผูสูงอายุที่ประสบภัยในระยะเกิดภัยที่สำคัญ ไดแก การ

               จำแนกผูประสบภัย การปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาลเบื้องตน ตั้งแตจุดเกิดเหตุจนถึงโรงพยาบาล
                                  ผูสูงอายุที่ประสบภัยควรไดรับการประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL)

               โรคประจำตัว ยาที่ตองรับประทานเปนประจำ อุปกรณที่ตองใช แหลงสนับสนุน ลูก หลาน ญาติ พยาบาลควร
               ตองประเมินและวิเคราะหใหไดวาการดูแลที่สำคัญและจำเปนสำหรับผูสูงอายุคืออะไร เปนผูพิทักษสิทธิ์ใหโดย
               การหาแหลงสนับสนุนที่เหมาะสม และสงปรึกษาผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาตามปญหาที่เกิดขึ้น หากจำเปนตอง

               อพยพผูสูงอายุออกจากบาน ตองสื่อสารกับผูสูงอายุใหชัดเจนเพื่อใหผูสูงอายุเขาใจ ไมตื่นตระหนกหรือสับสน
               นำของใช เอกสารที่จำเปนไปใหพรอม ในกรณีที่สาธารณภัยรุนแรงหรือยาวนาน สำหรับผูสูงอายุที่นอนติดเตียง
               ชวยตนเองไมได มีโรคเรื้อรัง ตองพบแพทยบอย เปนประจำ ควรยายไปอยูโรงพยาบาลหรือที่พักอาศัยที่

               สามารถเดินทางไปโรงพยาบาลสะดวก
                              3.4.3 ระยะหลังเกิดสาธารณภัย ผูสูงอายุควรไดรับการดูแลเพื่อใหไดรับสวัสดิการเกี่ยวกับ
               สิ่งจำเปนพื้นฐานและลดปญหาตางๆ ที่พบไดบอย  ซึ่งพยาบาลสามารถดำเนินการไดดังนี้

                                     1) การจัดหาที่พักอาศัยที่เหมาะสมใหกับผูสูงอายุ ที่พักอาศัยที่เหมาะสมควรมีลักษณะดังนี้
               ไมแออัด มีพื้นที่สำหรับนอนไมนอยกวา 2 ตารางเมตรตอคน มีแสงสวางพอเพียง อากาศถายเทไดดีพอสมควร

               โดยจัดใหมีหนาตาง หรือชองลม เนื่องจากความพรองดานการเคลื่อนไหว ดังนั้นการจัดที่นอนควรเปนเตียง
               พื้นที่พักอาศัยสามารถใชรถเข็นไดสะดวก ทางเขาออกของที่พักอาศัยมีทางลาดใหรถเข็นเขาออกไดสะดวก
                                     2) ประสานการจัดหาแหลงน้ำที่สะอาดและปลอดภัย โดยจัดหาใหมีปริมาณน้ำใชประมาณ

               15-20 ลิตรตอคนตอวัน และน้ำดื่มประมาณ 1-3 ลิตรตอคนตอวัน
                                     3) การจัดอาหารตามหลักโภชนาการ โดยควรตองจัดใหไดรับอาหารที่ปรุงสำเร็จใหมๆ ถาไม
               มีเชื้อเพลิงหรือเชื้อเพลิงขาดแคลน ควรแจกจายอาหารสำเร็จที่ไมบูดงายโดยผานความรอน เชนผัด ตม ทอด

               นึ่งและรับประทานไดทันที เชน ขาวผัด  อาหารกระปอง อาหารสำเร็จรูป แตตองเปนอาหารที่ใหพลังงาน
               เพียงพอรวมทั้งตองไมบูดเนางาย สมาคมนักกำหนดอาหารแหงประเทศไทย (2556) ไดแนะนำอาหารสำหรับ
               ผูประสบภัยที่มีโรคประจำตัว ดังนี้

                                      - ผูสูงอายุที่มีความดันโลหิตสูง การไดรับเกลือโซเดียมจากเครื่องปรุงรส หรือ
               อาหารที่มีโซเดียมสูง จะทำใหมีน้ำคั่ง และเกิดอาการบวม กอใหเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น มีน้ำทวมปอด  และ

               หัวใจ และเกิดภาวะหัวใจลมเหลวได ดังนั้นจึงไมควรเติมเครื่องปรุงเพิ่มเติม  เลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสด
               มากกวาอาหารสำเร็จรูป ซึ่งจะมีปริมาณเกลือโซเดียมที่สูงกวา ถาเปนบะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ก็ไมควรรับประทาน
               น้ำตมบะหมี่  หรือรับประทานเพียงเล็กนอย และควรใสผักเพิ่มเติม  พยายามเคลื่อนไหว เพื่อใหเหงื่ออกและ





               12
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17