Page 11 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 11

ชวยเหลือพิเศษตางๆ (ขอมูลนี้ตองจำกัดผูรูเพราะผูสูงอายุอาจเสี่ยงตอผูไมหวังดีทำรายที่บานได) กำหนด
               บทบาทหนาที่ สถานที่ตางๆ รวมถึงการสื่อสารเพื่อขอความชวยเหลือหรือการอพยพ

                                     2) ใหความรูแกประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้ควรคำนึงถึงผูสูงอายุและผูดูแลผูสูงอายุดวย เนื่องจาก
               ความพรองและความตองการมีความเฉพาะกวาประชาชนกลุมอื่น โดยความรูที่ควรใหแกผูสูงอายุและผูดูแลที่

               สำคัญ ไดแก
                                  -  การเตรียมที่พักอาศัยสำหรับผูสูงอายุระหวางเกิดและภายหลังเกิดสาธารณภัยการ
                                    อพยพออกจากบาน
                                  -  การจัดสภาพแวดลอมภายในและภายนอกบานใหสะดวกตอการเคลื่อนยาย

                                  -  การดูแลปจจัย 4 เพื่อการดำรงชีวิตของผูสูงอายุ
                                  -  การเตรียมเอกสารตางๆ

                                      3) ประเมินผูสูงอายุในชุมชน เมื่อเกิดสาธารณภัยพยาบาลจะตองทราบวาชุมชนที่รับผิด
               ชอบมีผูสูงอายุซึ่งเปนกลุมเสี่ยงอาศัยอยูที่ไหนบางและจะตองประเมินหรือระบุใหไดวา
                                  -  ผูสูงอายุแตละคน คนไหนมีความตองการการดูแลพิเศษ/เฉพาะในเรื่องใด

                                  -  ผูสูงอายุที่มีปญหาสายตา การไดยิน จะสามารถรับขอมูลขาวสารเพื่อการแจงเตือน
                                    หรือปฏิบัติตนไดโดยวิธีใด
                                  -  ผูสูงอายุที่มีปญหาการเคลื่อนไหว ตองใชอุปกรณชวย จะไปขอความชวยเหลือได

                                    อยางไร การอพยพเคลื่อนยายจะตองเตรียมการอะไรบาง
                                  -  ศูนยอพยพที่จะจัดเตรียมตองคำนึงถึงผูสูงอายุที่มีปญหาตางๆ และจัดสิ่งแวดลอมให
                                    เหมาะสมดวย

                                     4) การเตรียมพรอมของผูสูงอายุและผูดูแล
                                  -  รูวาชุมชนที่อาศัยมีความเสี่ยงตอการเกิดสาธารณภัยอะไร และเมื่อเกิดจะมี

                                      ผลกระทบตอผูสูงอายุ ครอบครัว ชุมชน อยางไร
                                  -  รูวาจะไดรับขอมูลขาวสารทางใด แผนของชุมชนเมื่อเกิดภัย และแหลงประโยชนที่
                                      จะขอความชวยเหลือ

                                  -  วางแผนถาจะตองอพยพผูสูงอายุจะดำเนินการอยางไร ใครเปนผูพาอพยพ ตองใช
                                    อุปกรณชวยหรือไม เสนทางอพยพ จุดนัดพบของครอบครัว อพยพไปอยูที่ไหน
                                  -  ใครในครอบครัวจะเปนหลักในการติดตอสื่อสารระหวางสมาชิกในครอบครัวและกับ

                                    ผูสูงอายุเพื่อปองกันการสับสน และจะสื่อสารกันอยางไร โดยเฉพาะการสื่อสารกับ
                                    ผูสูงอายุซึ่งมีความพรองของอวัยวะรับสัมผัสตางๆที่ตองการการสื่อสารเฉพาะหรือ
                                    พิเศษ ควรมีการสื่อสารหลัก และการสื่อสารรองถามีเหตุขัดของ

                                  -  เตรียมอุปกรณในกรณีฉุกเฉิน ชุดปฐมพยาบาล เครื่องอุปโภค บริโภคที่เหมาะสมกับ
                                    ภาวะสุขภาพและการเปลี่ยนแปลงของผูสูงอายุ และที่สำคัญคือยาของผูสูงอายุที่ตอง

                                    รับประทานเปนประจำ
                                  -  ทำบัตรระบุขอมูลภาวะสุขภาพ โรคประจำตัว ยาที่รับประทานประจำ การแพยาและ
                                    สารตางๆ กรุปเลือด เบอรโทรศัพทติดตอฉุกเฉิน ติดตัวผูสูงอายุหรือใสกระเปาสตางค






                                                                                                       11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16