Page 9 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 9

ขณะนี้ประเทศไทยเขาสูการเปนสังคมผูสูงอายุ ในปพ.ศ. 2556 มีผูสูงอายุ 9.4 ลานคน คิดเปนรอยละ
               14.5 ของประชากร เพิ่มปละประมาณ 5 แสนคน คาดวาจะเพิ่มขึ้นเปน 2 เทาตัวและทำใหประเทศไทยเปน

               สังคมผูสูงอายุโดยสมบูรณ ในปพ.ศ. 2568 เมื่อเกิดเหตุสาธารณภัยผูสูงอายุเปนกลุมที่ควรใหความสำคัญใน
               อันดับตนๆ แตการชวยเหลือมีวิธีปฏิบัติแตกตางจากกลุมวัยอื่น เนื่องจากผูสูงอายุมักมีโรคประจำตัว รางกายมี

               การเสื่อมสภาพ ชวยเหลือตัวเองไดนอย เสี่ยงตอการบาดเจ็บ พิการ อาจเสียชีวิตไดงายกวาวัยอื่น ผลการศึกษา
               ผลกระทบทางสุขภาพและการปรับตัวของผูสูงอายุที่ประสบอุทกภัย เขตลาดกระบัง พบวา รอยละ 75 ของ
               ผูสูงอายุมีโรคประจำตัว มีปญหาน้ำกัดเทามากขึ้นกวาเดิม รอยละ 20 และไมสะดวกในการเดินทางไปรับ
               บริการทางสุขภาพ (สมจินดา  ชมพูนุท และวรรณเพ็ญ  อินทรแกว, 2556) ผลสำรวจปญหาของผูสูงอายุจาก

               สาธารณภัย 3 เหตุการณในไทย ไดแก เหตุน้ำทวม ที่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในป พ.ศ. 2554 พบวา ขณะ
               น้ำทวมผูสูงอายุมีภาวะสุขภาพไมดี รอยละ 26 และเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 49 หลังน้ำทวม สวนภาวะหมอกควันใน

               ป พ.ศ. 2555 ที่จังหวัดเชียงราย พบผูสูงอายุมีสุขภาพแยลงรอยละ 56 พบมากที่สุดคือ ตาอักเสบรอยละ 86
               และเหตุดินโคลนถลมที่ จังหวัดนครศรีธรรมราช ป พ.ศ. 2555 หลังเกิดปญหา ผูสูงอายุรอยละ 27 รูสึกสุขภาพ
               ตัวเองแยลง (นันทศักดิ์  ธรรมานวัตร, 2556)

                     3.1  ปจจัยที่ทำใหผูสูงอายุเปนกลุมเปราะบางเมื่อเกิดสาธารณภัย
                         ผูสูงอายุเปนผูที่มีสมรรถภาพรางกายเสื่อมถอย จึงมีความเสี่ยงที่จะไดรับผลกระทบที่รุนแรงเมื่อ
               เกิดสาธารณภัย ถึงแมวาผูสูงอายุเปนผูที่มีประสบการณและมีทักษะในการดำรงชีวิตซึ่งสามารถนำมาใชใน

               การชวยเหลือตนเองใหพนความทุกขยากเมื่อเผชิญสาธารณภัยได แตดวยขอจำกัดที่เกิดจากสภาพการ
               เปลี่ยนแปลงของรางกาย สภาพสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมตางๆทำใหผูสูงอายุสวนใหญมีความเปราะบาง
               ไมสามารถชวยตนเองไดหรือตองการความชวยเหลือเมื่อเกิดสาธารณภัย  โดยปจจัยที่ทำใหผูสูงอายุเปน

               ประชากรกลุมเสี่ยงที่สำคัญ ไดแก
                         -  ความบกพรองดานรางกาย ภาวะทุพลภาพ

                         -  ความบกพรองดานการคิดรูและความจำ
                         -  ภาวะเจ็บปวยเรื้อรัง
                         -  การขาดแหลงสนับสนุนทางสังคมและขาดผูดูแล

                         -  ปญหาดานเศรษฐกิจ การเงิน
                         -  ปญหาสภาพแวดลอมทางกายภาพที่ไมเอื้อตอการดำรงชีวิตของผูสูงอายุ
                     3.2  ผลกระทบทางสุขภาพของผูสูงอายุที่ประสบภัย

                        สาธารณภัยเมื่อเกิดขึ้นยอมสงผลกระทบตอบุคคลทุกเพศทุกวัยในระดับความรุนแรงมากนอย
               ตางกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีไดทั้งดานเศรษฐกิจ เกิดการสูญเสียทรัพยสิน ที่พักอาศัย แหลงทำมาหากิน
               คาใชจายเพื่อการยังชีพสูงขึ้น สงผลใหเกิดความยากลำบากในการดำรงชีวิตแกผูสูงอายุ ดานสังคม สาธารณภัย

               ทำใหเกิดความเสียหายตอระบบสาธารณูปโภค การคมนาคมขนสง ตลอดจนอาจเกิดความขัดแยงในสังคม การ
               ติดตอกับครอบครัวและเพื่อนบานยากลำบาก สงผลใหผูสูงอายุดูแลตนเองไดไมดีและเพิ่มปญหาการดูแล

               ผูสูงอายุที่ตองการการพึ่งพา  สำหรับผลกระทบทางสุขภาพของผูสูงอายุที่สำคัญ ไดแก
                        3.2.1 ผลกระทบดานรางกาย แตกตางกันตามประเภทของสาธารณภัยที่เกิดขึ้น เชนเมื่อเกิดน้ำ
               ทวมจะพบปญหาการบาดเจ็บตั้งแตเล็กนอยจนกระทั่งสาหัสจากอุบัติเหตุ การจมน้ำตาย ไฟฟาดูด สัตวมีพิษ
               และจระเขกัด สารเคมีปนเปอน ปญหาการเจ็บปวย ไดแก มีอาการของโรคผิวหนัง อาการไขและออกผื่น โรค




                                                                                                         9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14