Page 13 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 13

พักผอนใหเพียงพอ  ในผูที่ตองรับประทานยาลดความดันโลหิต ก็ควรรับประทานยาอยางตอเนื่อง หรือควร
               ปรึกษาบุคลากรทางการแพทย ถามีขอสงสัย

                                      - ผูสูงอายุที่เปนเบาหวาน  ควรลดปริมาณขาวลง โดยรับประทานกับขาวใหหมด
               แตใหเหลือขาวไวสัก 4 ชอนโตะทุกครั้ง เลือกอาหารกลองที่มีผัก (ถามี) ควรรับประทานผลไมระหวางมื้อ  เชน

               กลวยน้ำวา ประมาณ 1 ลูก หรือ กลวยหอม ½ ลูก (ถาไมมีเบาหวานลงไต) หรือผลไมประมาณ 7-8 ชิ้น ขนาด
               ชิ้นละ 1 คำ ในชวงสายและในชวงบาย เพื่อปองกันไมใหระดับน้ำตาลในเลือดขึ้นๆลงๆ ควรดื่มน้ำใหเพียงพอ
               พยายามเคลื่อนไหว ถามีอาการน้ำตาลต่ำ เชน หิว ใจสั่น ตัวสั่น หัวใจเตนเร็ว วิงเวียนศรีษะ เหงื่อออก ตัวเย็น
               และหมดสติ ใหอมลูกอม 3-4 เม็ด หรือ ดื่มน้ำผลไมประมาณ ½ แกวหรือ รับประทานขนมปง 1 แผน แลวรีบ

               ตามบุคลากรทางการแพทย
                                      - ผูสูงอายุที่เปนโรคไต  อาหารในระยะที่มีสาธารณภัยของผูที่เปนโรคไต ไมวาจะ

               เปนผูที่เปนโรคไตระยะเริ่มแรก ที่ยังไมไดทำการลางไต และผูที่เปนโรคไตที่ไดทำการลางไตแลว (ฟอกเลือด
               หรือลางไตทางชองทอง) แตไมสามารถที่จะทำการลางไตไดตามปกติ จะคลายกัน โดย น้ำดื่ม ควรจำกัดใหเหลือ
               เพียงวันละไมเกิน 3 แกว (ประมาณ 750 ซีซี) ปริมาณเนื้อสัตวสุก  ควรรับประทานมื้อละไมเกิน 2 ชอนโตะ

               หรือเทากับ กลองไมขีดขนาดเล็ก  1 กลอง  หลีกเลี่ยงเนื้อสัตวที่แปรรูป และไมควรเติมเครื่องปรุง ผักและผลไม
               ควรหลีกเลี่ยงผักที่มีสีเขียวเขมหรือสีสดๆ เชน ผักบุง มะเขือเทศ ฟกทอง เลือกรับประทานผักสีออนๆ เชน
               บวบเหลี่ยม แตงกวา แตงราน ฟกเขียว หอมหัวใหญ ผักกาดขาว พริกหวาน  หัวผักกาดขาว (ควรบริโภคผักสุก

               มากกวาผักดิบ และไมควรดื่มน้ำตมผัก)  หลีกเลี่ยง กลวยหอม ฝรั่ง และผลไมตากแหง เชน กลวยตาก และควร
               แจงใหบุคลากรทางการแพทย ทราบวาเปนโรคไต
                                         4) การจัดบริการดานสุขภาพอนามัย พยาบาลควรจะตองดูแลทั้งสุขภาพและสภาพ

               แวดลอมดวย  เพื่อควบคุมและปองกันโรคติดตอ
                                         5) การฟนฟูสภาพเปนการดูแลตอเนื่องในรายที่ปวยเรื้อรังหรือบาดเจ็บตอเนื่อง พิการ

               เพื่อใหคืนสูสภาพเดิมหรือใกลเคียงสภาพเดิมใหไดมากที่สุด ไมเปนภาระแกสังคมและรูสึกมีคุณคา มีกำลังใจที่
               จะตอสูเพื่อการดำรงชีวิตตอไป
                             3.4.4 การพยาบาลดานจิตใจของผูสูงอายุที่ประสบภัย   สาธารณภัยนำมาซึ่งความสูญเสียอยาง

               รุนแรงตอชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งความรูสึกปวดราวทางจิตใจ ผูสูงอายุบางรายไมสามารถปรับตัวใหยอมรับ
               กับสถานการณรุนแรงนั้นไดจะมีการตอบสนองทางรางกายและจิตใจที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ เกิดความกลัว
               (Fear) ความหวาดหวั่น (Horror) อยางรุนแรง และความรูสึกชวยเหลือแกไขไมได (Helplessness) หาก

               ผูสูงอายุไดรับการชวยเหลือดานจิตใจตั้งแตในระยะแรก จะสามารถฟนฟูสุขภาพจิตไดอยางรวดเร็วและปองกัน
               ผลกระทบตางๆที่เกิดขึ้นได บทบาทพยาบาลในการชวยเหลือผูสูงอายุดานจิตใจที่สำคัญ ไดแก
                                         1) การปฐมพยาบาลดานจิตใจ หรือ การชวยเหลือดานจิตใจเบื้องตน (Psychological

               First Aid) ประกอบดวย ทำความเขาใจในเหตุการณที่เกิดขึ้นและสิ่งกระตุนที่ทำใหเกิดปญหาดานจิตใจ
               ประเมินปฏิกิริยาและการตอบสนองทางดานจิตสังคม ปลอบโยนใหกำลังใจและทำใหรูสึกสบาย ปกปองจาก

               อันตรายและภาวะคุกคามที่จะเกิดขึ้น ใหการชวยเหลือในทันทีเมื่อมีความตองการจำเปนดานรางกาย สงเสริม
               ใหไดกลับมาอยูกับครอบครัวหรือคนที่รัก เปดโอกาสใหระบายความรูสึก สงเสริมใหมีการชวยเหลือสนับสนุน
               ของครอบครัว และเครือขายทางสังคม ใหขอมูลที่เปนประโยชน และจัดการสงตออยางเหมาะสม






                                                                                                       13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18