Page 8 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 8

ในระยะนี้พยาบาลตองใหการดูแลปญหาทางสุขภาพของเด็กเปนสำคัญ  การจำแนกเด็กที่
               ประสบภัยเปนกิจกรรมการพยาบาลที่จำเปน หากเด็กไดรับบาดเจ็บหรือสัมผัสสารพิษตองใหการรักษา

               พยาบาลอยางเรงดวน โดยเฉพาะกรณีสารพิษ เพราะจะทำลายผิวหนัง/รางกายของเด็กรุนแรง รวดเร็ว
               พยาบาลตองใหความรูกับพอแม/ผูดูแลในการสังเกตอาการและอาการแสดงของโรคที่อาจเกิดไดจากสาธารณ

               ภัยประเภทที่เด็กเผชิญอยู  นอกจากนี้ตองรูจักปลอบโยนเด็กไมใหตกใจกับสถานการณเกินกวาความเปนจริง
               เนื่องจากเด็กจะมีจินตนาการตอเหตุการณตางๆ รุนแรงกวาที่เปนจริงได การสื่อสารกับเด็กตองใชภาษาที่งาย
               ตอการเขาใจ
                         2.3.3 ระยะหลังเกิดสาธารณภัย

                                     ในระยะนี้พยาบาลตองใหการดูแลเด็กทั้งรางกายและจิตใจ รวมถึงการใหคำแนะนำแกพอ-
               แม/ผูดูแล ในการสังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของเด็กดวย ระยะหลังเกิดสาธารณภัยนี้พอ-แม/

               ผูดูแลสวนใหญจะเครียดจึงตองระมัดระวังอารมณที่จะแสดงกับเด็ก อาจมีการทำรายเด็ก รวมถึงอาจมีความ
               อดทนตอพฤติกรรมบางเรื่องของเด็กไดนอย พอ-แม/ผูดูแลตองระลึกเสมอวาเด็กจะสังเกตอาการของพอ-แม/
               ผูดูแลแลวเลียนแบบได

                         2.3.4 การดูแลเด็กที่ประสบภัยในศูนยอพยพ
                                     การพยาบาลที่สำคัญอีกประการหนึ่ง คือ การดูแลเด็กที่ประสบภัยในศูนยอพยพ เนื่องดวย
               ศูนยอพยพเปนที่ที่จัดใหผูประสบภัยมาอยูรวมกันบางครั้งมีความแออัด เกิดปญหาสุขภาพทั้งดานรางกายและ

               จิตใจได เชน พื้นที่สำหรับเด็กมีจำกัด  การอยูอยางอึดอัดทั้งกายและใจ  รูสึกไมปลอดภัย  สภาพการกินเสี่ยง
               ตอการเกิดโรค  มีสิ่งรบกวนตอการนอนหลับ  ขยะไมไดรับการจัดเก็บและบริการสุขภาพมาจากหลายที่ไมมี
               ระบบ  ดังนั้นพยาบาลโดยเฉพาะพยาบาลชุมชนตองใหคำแนะนำแกคณะกรรมการชุมชนในการจัดศูนยอพยพ

               ตองกำหนดแนวปฏิบัติในเรื่องการคัดกรอง  แยกประเภทผูพักอาศัยใหชัดเจน  มีการประเมินปญหาสุขภาพ
               และใหบริการทางสุขภาพตลอด 24 ชั่วโมง  และตองมีเครือขายในการสงตอเด็กที่เจ็บปวยไปรับการรักษาตาม

               โรงพยาบาล  อีกทั้งตองใหความรูกับพอ-แม/ผูดูแลเกี่ยวกับพฤติกรรมที่อาจเปลี่ยนแปลงไดของเด็ก  ตองจัดให
               เด็กอยูใกลชิดกับพอ-แม/ครอบครัว/คนคุนเคย  และตองจัดใหมีกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู  พัฒนาการและ
               นันทนาการสำหรับเด็กดวย




                                    Children in Disasters





               3. การดูแลผูประสบภัยกลุมผูสูงอายุ
                     ผูสูงอายุเปนสัดสวนประชากรกลุมใหญของผูที่เปราะบางที่สุดในบรรดาผูประสบภัยและพวกเขาก็เปนผู
               มีสวนรวมสำคัญในความอยูรอดและการฟนฟูสภาพ  ปจจัยที่สำคัญที่สุดที่ทำใหผูสูงอายุเปนผูเปราะบางใน

               สถานการณสาธารณภัย คือการถูกทอดทิ้งไวโดดเดี่ยว  ประกอบกับวิถีชีวิตความเปนอยูที่เสียไป การขาดความ
               ชวยเหลือเกื้อกูลในครอบครัวและชุมชน การถูกทอดทิ้งนั้นจะยิ่งทำใหความเปราะบางที่มีอยูแลวจากปญหา
               สุขภาพเรื้อรัง เคลื่อนไหวไมสะดวก สมองเสื่อมรุนแรงมากเพิ่มขึ้น





               8
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13