Page 7 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 3 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 7
- สอนวิธีการชวยเหลือตนเอง การขอความชวยเหลือจากผูอื่น ใหเด็กรูจักวิธีการใช
โทรศัพท จดเบอรโทรศัพทติดไวกับบัตรประจำตัวของเด็ก
- สอนใหเด็กรูจักสัญญาณเตือนภัยและความหมายของสัญญาณรวมถึงรูจักเสนทางหนีภัย
- พูดคุยทบทวนแผนสาธารณภัยของครอบครัวกับเด็กอยางสม่ำเสมอทุกๆ 6 เดือน
กำหนดสถานการณฉุกเฉินใหเด็กฝกคิด/ฝกแกไข
2) การจัดทำแผนสาธารณภัยของชุมชน
สำหรับชุมชนพยาบาลตองใหคำแนะนำแกคณะกรรมการชุมชนในการจัดทำแผน
สาธารณภัย โดย
- ตองมีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเด็กทุกชวงวัยที่ชัดเจน ครอบคลุมเด็กทุกประเภทในชุมชน
เชน เด็กที่ไมมีผูดูแล เด็กที่พิการหรือเจ็บปวยเรื้อรัง
- จัดเตรียมอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชที่เหมาะสมกับเด็ก โดยเฉพาะอุปกรณทาง
การแพทย ในกรณีที่เด็กตองไดรับการรักษาพยาบาล
- จัดเตรียมสถานที่ที่ปลอดภัยและเหมาะสมสำหรับเด็ก เชน อาคารที่ไมเปดโลง เพื่อ
ไมใหเด็กสัมผัสกับอากาศที่รอนหรือหนาวเกิน รวมทั้งสารพิษหรือสารเคมีตางๆ
- จัดใหมีการเตรียมผูดูแลเด็กที่เหมาะสม
- หากมีการอพยพเคลื่อนยายในชุมชนใหเด็กอยูในกลุมแรกของการเคลื่อนยาย
- การเคลื่อนยายเด็กใหไปพรอมครอบครัว
3) การใหคำแนะนำแกโรงเรียน ในกรณีที่เด็กอยูในโรงเรียน พยาบาลควรแนะนำโรงเรียน
ใหดำเนินการดังนี้
- จัดทำแผนสาธารณภัยของโรงเรียนและมีการฝกซอม ปละ 1-2 ครั้ง
- มีมาตรการในการติดตอกับผูปกครองนักเรียนไดอยางรวดเร็วตลอดเวลาหากมี
เหตุการณฉุกเฉิน
- กำหนดมาตรการเรื่องความปลอดภัยในการดูแลนักเรียนและปฏิบัติตามอยางเครงครัด
- กรณีจัดรถรับ-สงนักเรียนตองมีครูดูแล มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนหากเกิดเหตุฉุกเฉินใน
ระหวางการเดินทางรับ-สง นักเรียน ครูตองมีความรูในการปฐมพยาบาลเบื้องตน
4) การใหคำแนะนำแกเด็กในกรณีเด็กโตที่สามารถเขาใจสถานการณสาธารณภัยและ
ชวยเหลือตนเองได
- ใหมีสติ
- เรียนรูวิธีการชวยเหลือตนเองเบื้องตน
- ฝกการคิดแกไขสถานการณฉุกเฉินบอยๆ
- จดจำเบอรโทรศัพทผูปกครองหรือแหลงชวยเหลือ
- รวมพูดคุยแผนสาธารณภัยกับครอบครัว/ฝกซอมแผนสาธารณภัยรวมกับชุมชนอยาง
สม่ำเสมอ
2.3.2 ระยะเกิดสาธารณภัย
7