Page 77 - รายงานผลการดำเนินงานของรัฐบาล ปีที่ 4
P. 77

๗.๘.๒ การพัฒนาบัณฑิตพันธุ์ใหม่
                                ๑) โครงการผลิตบัณฑิตพันธุ์ใหม่ เพื่อให้มีความสามารถในการท างานได้หลากหลาย

              ตามความต้องการของผู้เรียน และตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม

              เป้าหมายของประเทศ (First and New S-Curve) มีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วมโครงการ จ านวน ๘๙ แห่ง ซึ่งได้จัดท า
              หลักสูตรที่เป็นความร่วมมือกับภาคเอกชน สถานประกอบการอุตสาหกรรม ชุมชน และสังคม จ านวน ๕๗๑ หลักสูตร

              ผู้เรียนรวมทั้งสิ้น ๖๒,๖๐๑ คน ในปี ๒๕๖๕ มีนักศึกษาบัณฑิตพันธุ์ใหม่ที่มีศักยภาพ สมรรถนะ และทักษะที่สามารถ
              ตอบโจทย์อุตสาหกรรม จ านวน ๘,๑๘๗ คน

                                ๒) พัฒนาหลักสูตรแซนด์บ็อกซ์ เป็นการจัดการศึกษาที่แตกต่างจากมาตรฐานการอุดมศึกษา

              (Higher Education Sandbox) สร้างนวัตกรรมการอุดมศึกษา มุ่งเน้นผลิตคนให้ตอบโจทย์ความต้องการของ
              ภาคการผลิต (Demand Driven) และเท่าทันความต้องการของประเทศและยุทธศาสตร์ชาติ น าร่อง ๔ หลักสูตร

              ได้แก่ หลักสูตรการผลิตและพัฒนาก าลังคนสาขาฉุกเฉินการแพทย์ หลักสูตรการผลิตบุคลากร High-tech
              Entrepreneur หลักสูตรการผลิตบุคลากรด้านวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และดิจิทัล และหลักสูตรการผลิตก าลังคน

              ศักยภาพสูงที่มีความรู้เชิงลึกด้านวิทยาศาสตร์และแนวคิดเชิงนวัตกรรม

                                ๓) จัดท าระบบคลังหน่วยกิตแห่งชาติ (National Credit Bank System: NCBS) เพื่อส่งเสริม
              การเรียนรู้ตลอดชีวิต รองรับการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้ผู้เรียนซึ่งไม่จ าเป็นต้องมีสถานภาพเป็นนักศึกษาสามารถ

              น าผลการเรียนและผลลัพธ์การเรียนรู้จากวิชาและหลักสูตรต่าง ๆ มาเทียบโอนและสะสมหน่วยกิตไว้ที่คลังหน่วยกิต

              แห่งชาติ แล้วสามารถน ามาขอรับปริญญาบัตรจากสถาบันอุดมศึกษาของไทย หรือเพื่อเป็นรายงานผลลัพธ์
              การเรียนรู้สะสมของผู้เรียน โดยด าเนินการน าร่องในสถาบันการศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

              มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี รวมทั้งเปิดลงทะเบียนเรียนรายวิชา

              ข้ามสถาบันระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสแสวงหาความรู้ตามรายวิชาที่สนใจและได้รับประสบการณ์
              ที่หลากหลายจากมหาวิทยาลัย

                        ๗.๘.๓ การพัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม ๔.๐
                              ๑) ยกระดับสถาบันการอาชีวศึกษาในการจัดการศึกษาปริญญาตรี สายเทคโนโลยี

              หรือสายปฏิบัติการ จ านวน ๒๓ แห่ง ทั่วประเทศ พัฒนาคุณภาพการจัดการอาชีวศึกษา ยกระดับสถาบัน

              การอาชีวศึกษา จ านวน ๒๓ แห่ง ทั่วประเทศ ในการจัดการศึกษาปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ
              และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพในการจัดการเรียนการสอน

              ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศเฉพาะทาง ยกระดับการพัฒนาศูนย์ทดสอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพของสถาบัน
              การอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติและกรอบคุณวุฒิอ้างอิง

              อาเซียนในสถาบันการอาชีวศึกษา จ านวน ๒๓ แห่งทั่วประเทศ

                              ๒) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
              คุณภาพสูง ระดับจังหวัด ขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการท างานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

              ที่เกี่ยวข้องในจังหวัด สามารถผลิตและพัฒนาก าลังคนอาชีวศึกษาสมรรถนะสูงให้สอดคล้องกับความต้องการก าลังคน

              ในจังหวัด พื้นที่ใกล้เคียงและของประเทศ โดยมีส านักงานอาชีวศึกษาจังหวัดท าหน้าที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ และได้มี





               รายงานผลการด าเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์  จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที่ ๔
               รายงานผลการดำำาเนินงานของรัฐบาล พลเอก ประยุทธ์์ จัันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ปีที� ๔
                                                                                                           73
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕)                                                            ๗๓
               (๒๕ กรกฎาคม - ๓๑ ธ์ันวาคม ๒๕๖๕)
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82