Page 8 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 8
- 4 - - 5 -
ในขณะที่ประเทศคู่เจรจาอาเซียนมีการเปิดเสรีการลงทุนเพิ่มเติมจากที่ไทยมีความตกลงอยู่แล้ว ดังนี้ 3. ผลกระทบ
จีน (เช่น เกษตร ป่าไม้) เกาหลี (เช่น เกษตร (ยกเว้นการปลูกข้าว และฟาร์มปศุสัตว์) ป่าไม้ เหมืองแร่) ญี่ปุ่น (เช่น 3.1 ข้อผูกพันของไทยภายใต้ความตกลง RCEP ไม่มีผลให้ไทยต้องแก้ไขกฎหมายภายในประเทศเพิ่มเติม
เกษตร การผลิต (ยกเว้นธนบัตร เหรียญกษาปณ์ ยาสูบ)) ออสเตรเลีย (เช่น เกษตร ประมง ป่าไม้) นิวซีแลนด์ (เช่น จากที่อยู่ระหว่างด าเนินการหรือมีนโยบายที่จะด าเนินการ และไม่มีข้อบทที่ส่งผลกระทบต่อไทยในประเด็นที่เป็น
เหมืองแร่ ป่าไม้) ข้อห่วงกังวลของภาคประชาสังคม ทั้งเรื่องการขยายระยะเวลาการคุ้มครองสิทธิบัตรเพื่อชดเชยความล่าช้าในการ
2.5 การเคลื่อนย้ายชั่วคราวของบุคคลธรรมดา ไทยอนุญาตการเข้าเมืองเป็นการชั่วคราวให้แก่บุคคล จดทะเบียน การผูกขาดข้อมูลการทดสอบยาที่อาจส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงยา และการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา
ธรรมดาของภาคีอื่น ส าหรับบุคคลธรรมดา 2 ประเภท คือ ผู้เยี่ยมเยือนทางธุรกิจ (Business Visitor) โดย ระหว่างประเทศเพื่อการคุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ ค.ศ. 1991 (UPOV 1991) ที่อาจส่งผลกระทบต่อราคาเมล็ดพันธุ์
อนุญาตให้เข้ามาพ านักในไทยได้ไม่เกิน 90 วัน และผู้โอนย้ายภายในบริษัท (Intra-Corporate Transferee) ใน ส าหรับเกษตรกร นอกจากนี้ ยังยืนยันสิทธิของไทยในการใช้มาตรการบังคับใช้สิทธิเหนือสิทธิบัตรยา (CL)
ระดับผู้จัดการ ผู้บริหาร และผู้เชี่ยวชาญ โดยอนุญาตให้เข้ามาพ านักในไทย ครั้งแรกไม่เกิน 1 ปี และอาจขยาย ที่สอดคล้องกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องของไทยในปัจจุบัน
เวลาได้ไม่เกิน 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ปี 3.2 ไทยจะได้รับประโยชน์จากความตกลง RCEP ดังนี้
2.6 ทรัพย์สินทางปัญญา มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการคุ้มครองและการบังคับใช้สิทธิ 3.2.1 ตลาดขนาดใหญ่ ประเทศสมาชิก RCEP จะเป็นตลาดการค้าการลงทุนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดใน
ในทรัพย์สินทางปัญญา และอ านวยความสะดวกการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างภาคี โดยครอบคลุม โลก ประกอบด้วย 15 ประเทศ มีประชากรรวมกันเกือบ 2,252 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 30.2 ของประชากร
ทรัพย์สินทางปัญญาทุกประเภทภายใต้ความตกลงทริปส์ขององค์การการค้าโลก รวมทั้งประกอบด้วยข้อบทเพื่อ โลก) มี GDP กว่า 26.2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ (ประมาณร้อยละ 30 ของ GDP โลก) มีมูลค่าการค้ารวมกว่า
การส่งเสริมความร่วมมือและความโปร่งใสด้านทรัพย์สินทางปัญญาระหว่างสมาชิก และการก าหนดให้ประเทศ 10.4 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ (คิดเป็นร้อยละ 27.4 ของมูลค่าการค้าโลก) ส าหรับการค้าและการลงทุนของไทย
สมาชิกเข้าเป็นภาคีความตกลงระหว่างประเทศด้านทรัพย์สินทางปัญญาขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลกที่จะ กว่าครึ่งพึ่งพาตลาดขนาดใหญ่ของสมาชิก RCEP ทั้ง 15 ประเทศ โดยมีมูลค่าการค้าระหว่างไทย-RCEP ในปี
สร้างมาตรฐานการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาในภูมิภาค และตอบรับการพัฒนาของเทคโนโลยีในปัจจุบัน โดย 2562 จ านวน 2.75 แสนล้านเหรียญสหรัฐ (คิดเป็นร้อยละ 57 ของการค้ารวมของไทย) โดยไทยส่งออกไปยัง
ไม่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงยาของประชาชน และไทยไม่ต้องเข้าเป็นภาคีความตกลงระหว่างประเทศเพื่อการ สมาชิก RCEP จ านวน 1.33 แสนล้านเหรียญสหรัฐ (คิดเป็นร้อยละ 54 ของการส่งออกไทยไปโลก) และน าเข้า
คุ้มครองพันธุ์พืชใหม่ (UPOV 1991) ซึ่งเป็นประเด็นที่ภาคประชาสังคมให้ความส าคัญ อย่างไรก็ดี ไทยจะต้อง จากสมาชิก RCEP 1.41 แสนล้านเหรียญสหรัฐ (คิดเป็นร้อยละ 60 ของการน าเข้าไทยจากโลก)
พิจารณาเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองลิขสิทธิ์ขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WCT) และ 3.2.2 โอกาสสินค้าของไทย ประเทศคู่เจรจาอาเซียนได้เปิดตลาดสินค้าเพิ่มเติมจากความตกลงที่มี
สนธิสัญญาว่าด้วยการแสดงและสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (WPPT) รวมทั้งปรับปรุง อยู่กับอาเซียน ท าให้สินค้าของไทยมีโอกาสเข้าสู่ตลาดและสามารถแข่งขันในตลาดของประเทศคู่เจรจาอาเซียนได้
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับความตกลงทั้งสองฉบับดังกล่าว พร้อมทั้งปรับปรุง มากขึ้น ได้แก่ (๑) เกาหลี ๔๑๓ รายการ เช่น ผักผลไม้แปรรูปและไม่แปรรูป น้ ามันที่ได้จากพืช ของปรุงแต่งจาก
กระบวนการบริหารจัดการ ค าขอรับสิทธิบัตร และการด าเนินการกับสินค้าละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาในคดีแพ่ง ธัญพืช แป้งมันส าปะหลัง สินค้าประมง พลาสติก เครื่องแก้ว ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ ด้ายท าด้วยยางวัล
ให้สอดคล้องกับข้อบทของความตกลง RCEP ซึ่งเป็นไปตามนโยบายการพัฒนาระบบทรัพย์สินทางปัญญาของ แคไนซ์ รถจักรยาน เครื่องยนต์และส่วนประกอบ กระเบื้อง ซีเมนต์ โดยเกาหลีก าหนดยกเลิกภาษีส่วนใหญ่ภายใน
ประเทศไทยในปัจจุบัน ๑๕ ปี (๒) ญี่ปุ่น ๒๐๗ รายการ เช่น สินค้าประมง ผลไม้และลูกนัตปรุงแต่ง แป้งสาคู น้ ามันถั่วเหลือง กาแฟคั่ว
2.7 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ก าหนดให้มีกฎเกณฑ์เพื่อส่งเสริมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และสร้าง น้ าผลไม้ ผักปรุงแต่ง โดยญี่ปุ่นก าหนดยกเลิกภาษีส่วนใหญ่ภายใน ๑๖ ปี และ (๓) จีน ๓๓ รายการ เช่น พริกไทย
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ระหว่างกัน โดยให้ภาคี (1) พยายามยอมรับผลทางกฎหมาย สับปะรดแปรรูป น้ ามะพร้าว ตัวรับสัญญาณโทรทัศน์ สไตรีน เครื่องเสียง อุปกรณ์ให้แสงสว่าง เครื่องยนต์ กระดาษ
ของเอกสารการด าเนินการทางการค้าที่ส่งทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เท่าเทียมกับเอกสารฯ ในรูปแบบกระดาษ (2) ให้มี โดยจีนก าหนดยกเลิกภาษีส่วนใหญ่ภายใน ๒๐ ปี
กฎหมายและกฎระเบียบในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคออนไลน์จากการกระท าที่ฉ้อฉลและหลอกลวง การคุ้มครอง 3.2.3 ขยายห่วงโซ่อุปทานจากการสะสมถิ่นก าเนิดในภูมิภาค เพิ่มช่องทางเลือกในการส่งออก
ข้อมูลส่วนบุคคลออนไลน์ การจัดการกับข้อความอิเล็กทรอนิกส์เชิงพาณิชย์ที่ไม่พึงประสงค์ และการก ากับดูแล และเลือกใช้วัตถุดิบท าให้ได้ถิ่นก าเนิดง่ายขึ้น ความตกลง RCEP ก าหนดเกณฑ์ถิ่นก าเนิดสินค้าที่เปิดโอกาสให้
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์โดยค านึงถึงกฎหมายแม่แบบที่เกี่ยวข้อง (3) ให้ภาคียกเว้นภาษีศุลกากรส าหรับการ ผู้ประกอบการสามารถเลือกใช้แหล่งวัตถุดิบที่หลากหลายมากขึ้นจากทั้งในและนอกภาคี โดยอนุญาตให้ภาคี
ส่งผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่ก าหนดไว้ภายใต้องค์การการค้าโลก และ (4) ให้มีการส่งเสริมพาณิชย์ สามารถน าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นก าเนิดภายใต้ความตกลง RCEP มาสะสมถิ่นก าเนิดสินค้าต่อได้ ถือเป็นข้อได้เปรียบที่
อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดน โดยไม่ก าหนดต าแหน่งอุปกรณ์สารสนเทศไว้ในประเทศ และไม่ขัดขวางการโอน ส าคัญของความตกลง RCEP เมื่อเปรียบเทียบกับความตกลงการค้าเสรีอาเซียนและอาเซียน+1 ที่ภาคีสามารถ
ข้อมูลข้ามพรมแดนด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่รวมถึงสาขาบริการทางการเงินและมีข้อยกเว้นเพื่อการบรรลุ สะสมถิ่นก าเนิดสินค้าร่วมกันได้เพียง 10-12 ประเทศเท่านั้น จะช่วยเพิ่มโอกาสในการผ่านเกณฑ์ถิ่นก าเนิดสินค้า
วัตถุประสงค์ในการด าเนินนโยบายสาธารณะที่สมเหตุผล ซึ่งจะส่งผลให้การค้าและการลงทุนในภูมิภาคขยายตัวเพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกัน สินค้าจากภาคีอื่นก็มีโอกาสได้
2.8 การแข่งขันทางการค้า ให้มีการตระหนักถึงอ านาจอธิปไตยและระดับการพัฒนาของนโยบายและ ถิ่นก าเนิดง่ายขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ RCEP จะเป็นความตกลงการค้าเสรีฉบับแรกของอาเซียนที่มีการจัดท า
3
กฎหมายด้านการแข่งขันทางการค้าของแต่ละประเทศ ก าหนดให้มีหน่วยงานที่ก ากับและบังคับใช้กฎหมายและ กฎเฉพาะรายสินค้า (PSRs) ส าหรับสินค้าทุกรายการ โดยไม่มีการใช้กฎทั่วไป (General Rules: GR) ส่งผลให้
กฎระเบียบเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีการตัดสินที่เป็นการกีดกันเนื่องจากสัญชาติ มีการ เกณฑ์ถิ่นก าเนิดสินค้าภายใต้ความตกลง RCEP มีความสอดคล้องกับความต้องการวัตถุดิบและกระบวนการผลิตที่
แจ้งเหตุผลของการตัดสินและเปิดโอกาสให้มีการชี้แจง สามารถอุทธรณ์ได้ และเปิดโอกาสให้มีกระบวนการหารือ แท้จริงของสินค้ามากกว่าความตกลง FTA อื่น ๆ ของไทยและของอาเซียนที่ใช้กฎทั่วไปร่วมกับกฎเฉพาะรายสินค้า
หากมีกรณีที่ส่งผลกระทบต่อการค้าและการลงทุนของภาคี
2.9 บทอื่น ๆ เช่น ให้มีการเผยแพร่กฎหมายและกฎระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ โดยพยายาม
จัดท าข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษและในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้มีการแบ่งปันข้อมูลที่ภาคีเห็นว่ามีประโยชน์ต่อ
3
กฎทั่วไป (General Rules: GR) เป็นการจัดท าเกณฑ์ถิ่นก าเนิดสินค้า เป็นเกณฑ์กลางเพื่อใช้กับสินค้าจ านวนมาก (1 เกณฑ์
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและจัดตั้งช่องทางการสื่อสารที่เข้าถึงโดยสาธารณะ ให้มีการด าเนินกิจกรรม ต่อสินค้าหลายรายการหรือทั้งหมด) ขณะที่กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules: PSRs) เป็นการจัดท าเกณฑ์
ความร่วมมือตามแผนงาน เพื่อลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างภาคี ถิ่นก าเนิดสินค้าเป็นการเฉพาะส าหรับสินค้าแต่ละรายการ (1 เกณฑ์ ต่อ 1 รายการสินค้า)