Page 10 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 10
- 6 - - 7 -
โดยสินค้าที่คาดว่าไทยจะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้นจากกฎว่าด้วยถิ่นก าเนิดสินค้าภายใต้ความตกลง RCEP อาทิ อาหารปรุง พาณิชย์ได้มีการหารือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง โดยภาคเอกชนมี
แต่ง อาหารสัตว์เลี้ยง รองเท้า และเหล็กและผลิตภัณฑ์จากเหล็ก ข้อเสนอแนะส าหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปพิจารณาด าเนินการ เช่น
3.2.4 โอกาสบริการและการลงทุนของไทย ความตกลง RCEP มีการลดหรือยกเลิกกฎระเบียบ (1) ปรับปรุงโครงสร้างอากรศุลกากรของไทยให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับโครงสร้างการ
และมาตรการที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนของภาคบริการหรือการลงทุนที่ไม่ใช่ภาคบริการ จะช่วยส่งเสริมให้การ ผลิต เพื่อให้ผู้ประกอบการในประเทศสามารถแข่งขันได้ เนื่องจากในปัจจุบันไทยยังมีการก าหนดภาษีศุลกากรใน
ออกกฎระเบียบและมาตรการด้านการลงทุนมีความโปร่งใสมากยิ่งขึ้นและไม่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนจนเกิน สินค้าวัตถุดิบบางชนิดที่สูงกว่าสินค้าส าเร็จรูป
จ าเป็น ท าให้นักลงทุนสามารถจัดตั้งกิจการในประเทศของสมาชิกได้รวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งการเปิดตลาดของภาคี (2) ให้ความรู้แก่ภาคเอกชนในเรื่องการใช้มาตรการปกป้องและมาตรการตอบโต้การ
RCEP จะช่วยสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทยเข้าไปลงทุนในภาคี RCEP ในสาขาที่ไทยมีศักยภาพ อาทิ ก่อสร้าง ทุ่มตลาดและการอุดหนุน รวมทั้งภาครัฐควรสนับสนุนกลไกที่จะอ านวยความสะดวกภาคเอกชนในการติดตาม
ธุรกิจเกี่ยวเนื่องด้านสุขภาพ ธุรกิจเกี่ยวเนื่องกับภาพยนตร์และบันเทิง ประเภทเทคนิคตัดต่อภาพและเสียง การ รวบรวม ข้อมูลและสถิติการค้า ที่จะใช้ประกอบการยื่นขอใช้มาตรการ ตลอดจนตรวจสอบความผิดปกติและ
ผลิตแอนิเมชั่น ค้าปลีก ในขณะเดียวกัน ไทยมีการเปิดตลาดโดยมีจุดประสงค์เพื่อเปิดรับการลงทุนคุณภาพที่ไทย ป้องกันประเทศคู่ค้าบิดเบือนหรือหลีกเลี่ยงมาตรการดังกล่าว
ยังมีความต้องการในสาขาที่ใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ต้องการได้รับการพัฒนา know how และการ (3) พัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาในประเทศไทยอย่างยั่งยืน ตามแนวทางข้อเสนอของสมาคม
บริหารจัดการที่มีมาตรฐาน เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาอุตสาหกรรมอื่นในประเทศ และต่อยอดเป้าหมายการ ผู้เพาะเลี้ยงปลาไทยโดยปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างความเข้มแข็งและพัฒนาศักยภาพของ
ส่งเสริมอุตสาหกรรม S-curve ตามนโยบายรัฐบาล เช่น การวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดล้อม ICT การศึกษา การซ่อม ภาคการผลิตของไทยภายในระยะเวลา 10-15 ปีที่จะต้องยกเลิกภาษีน าเข้า
บ ารุงรักษาชิ้นส่วนอากาศยาน เพื่อที่ไทยจะได้เป็นศูนย์กลางรับการลงทุน และส่งออกต่อไปยังประเทศอื่นใน นอกจากนี้ ปัจจุบันรัฐยังมีมาตรการเพื่อช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
ภูมิภาค ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดการแข่งขันระหว่างผู้ประกอบการไทยและต่างชาติมากขึ้น อย่างไรก็ดี ไทยมีการระบุ ได้แก่ (1) กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ ภายใต้
เงื่อนไขที่เปิดกว้างให้รัฐออกมาตรการเพื่อปกป้องดูแลผลประโยชน์ชาติและผู้ประกอบการในประเทศ ความรับผิดชอบของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ (2) โครงการช่วยเหลือเพื่อ
3.2.5 อ านวยความสะดวกทางการค้าการลงทุน ความตกลง RCEP จะช่วยลดความซ้ าซ้อนเรื่อง การปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้ความรับผิดชอบของ
กฎถิ่นก าเนิดสินค้า มีการปรับพิธีการศุลกากรให้มีความชัดเจน รวดเร็ว โปร่งใส ปรับประสานกฎระเบียบและ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ รวมทั้งกระทรวงพาณิชย์อยู่ระหว่างพิจารณาแนวทางการจัดตั้ง “กองทุน
มาตรการทางการค้า ซึ่งจะท าให้มีการยอมรับกฎเกณฑ์ด้านมาตรฐานต่าง ๆ ระหว่างกันมากขึ้น การสร้าง ช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า” เพื่อเป็น
มาตรฐานด้านทรัพย์สินทางปัญญาของภูมิภาคจะช่วยให้ผู้ประกอบการไทยได้รับความคุ้มครองทรัพย์สินทาง กลไกถาวรในการให้ความช่วยเหลือเยียวยา ตลอดจนเตรียมความพร้อมผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรี
ปัญญาอย่างเหมาะสม และมีการอ านวยความสะดวกการจดทะเบียนต่าง ๆ ในภาคี RCEP ให้ง่ายขึ้น ซึ่งจะช่วย ทางการค้าให้สามารถปรับตัวและมีศักยภาพในการแข่งขัน
กระตุ้นการสร้างสรรค์และใช้นวัตกรรมในการประกอบธุรกิจ อีกทั้งช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออ านวยต่อการ
พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ท าให้เกิดความคล่องตัวในการท าธุรกิจ รวมถึงเพิ่มช่องทางให้กับ SMEs ในการ 4. การด าเนินการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 178 วรรคสี่ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้รับข้อมูล ประสบการณ์และความรู้ที่จ าเป็นต่อการเข้าถึงตลาดของภาคี RCEP ได้มากขึ้น ซึ่งจะน าไปสู่การ กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ได้ด าเนินการเผยแพร่ข้อมูลความเป็นมาและ
ขยายตัวทางการค้าและการลงทุนของไทยตลอดจนภายในภูมิภาคด้วย อย่างไรก็ดี การปรับกฎระเบียบมาตรฐาน สาระส าคัญของร่างความตกลง RCEP และเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการแสดง
ดังกล่าวท าให้หน่วยงานต้องมีการปรับตัวในกระบวนการท างานตามพันธกรณี รวมถึงการด าเนินงานให้มีความ ความคิดเห็น โดยด าเนินการตั้งแต่ปี 2561 ในรูปแบบของงานสัมมนาทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด และ
โปร่งใส มีการเผยแพร่ข้อมูลกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และมีการตอบข้อซักถามการร้องขอข้อมูล การจัดสัมมนาออนไลน์รวมทั้งสิ้น 14 ครั้ง รวมถึงการน าเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
เพิ่มเติมจากภาคีซึ่งต้องด าเนินการภายในระยะเวลาที่ก าหนดไว้ในความตกลง o จัดการสัมมนาเรื่อง "รู้รอบ ASEAN รอบรู้ RCEP" เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2561 ณ โรงแรมโซฟิเทล
3.2.6 พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิก มีการพัฒนาและยกระดับมาตรฐาน กรุงเทพฯ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมสัมมนาประกอบด้วยผู้แทนจากภาครัฐ (อาทิ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวง
กฎระเบียบทางการค้าให้มีความสากล สร้างเสริมศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากความตกลง โดยเฉพาะส่งเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) และภาคเอกชน (อาทิ สมาชิกของสภา
ความร่วมมือให้ SMEs สามารถเชื่อมโยงเข้าเครือข่ายการผลิตในภูมิภาค เปิดให้มีการเผยแพร่กฎหมายและ อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย ธนาคาร
กฎระเบียบด้านการแข่งขันทางการค้า การคุ้มครองผู้บริโภค การจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อให้ พาณิชย์ ภาคอุตสาหกรรมของไทยและญี่ปุ่นที่ลงทุนในประเทศไทย) โดยจากการรับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วน
มีความโปร่งใส ง่ายต่อการเข้าถึงของผู้ประกอบการ รวมถึงความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูล การเปลี่ยนแปลง ต่าง ๆ เห็นว่า ความตกลง RCEP จะเป็นโอกาสทางการตลาดให้กับภาคเอกชนและผู้ประกอบการของไทย ซึ่ง
กฎหมาย และการพัฒนาขีดความสามารถที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชนได้มีการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ความตกลง RCEP ดังนี้ (1) เสนอข้อมูลแก่ภาครัฐ เพื่อให้ภาครัฐ
3.3 ผลกระทบ สินค้าของประเทศคู่เจรจาอาเซียนมีโอกาสเข้ามาแข่งขันเช่นกัน เนื่องจากไทยได้เปิด ใช้ประกอบการเจรจา RCEP และ (2) การจัดท า workshop กับประเทศสมาชิก RCEP เพื่อระดมสมองในการ
ตลาดสินค้าเพิ่มเติมจากความตกลงการค้าเสรีที่มีอยู่ เพื่อตอบสนองการเปิดตลาดของประเทศคู่เจรจาอาเซียน ขับเคลื่อนการเจรจาบนพื้นฐานการเอื้อประโยชน์กับประเทศสมาชิก RCEP
ยกตัวอย่างเช่น (๑) เกาหลี 456 รายการ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ ปลาสด/แช่เย็น/แช่แข็ง ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า o จัดการสัมมนารับฟังความคิดเห็นเรื่อง “ก้าวต่อไปของไทยหลังปิดดีล RCEP” ในส่วนกลางและ
ผลิตภัณฑ์ที่ท าด้วยเหล็ก รถบรรทุก สิ่งทอและเครื่องแต่งกาย (๒) ญี่ปุ่น 10 รายการ โดยเป็นสินค้าชิ้นส่วน ส่วนภูมิภาค ตลอดจนถ่ายทอดสดการสัมมนาฯ ผ่านช่องทาง Facebook Live ของกรมเจรจาการค้าระหว่าง
ยานยนต์เพื่อน ามาเข้ามาใช้ในการผลิตของอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น เพลาส่งก าลัง ส่วนประกอบเครื่องยนต์ ประเทศ ได้แก่ ครั้งที่ 1 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ วันที่
และ (๓) จีน 59 รายการ เช่น เมล็ดพืช หินทรายและหินอื่น ๆ ใช้ในการก่อสร้าง กระดาษหนังสือพิมพ์ 16 ธันวาคม 2562 ครั้งที่ 2 ณ โรงแรมวินทรี ซิตี้ รีสอร์ท จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 20 มกราคม 2563 ครั้งที่ 3
ท่อนเหล็ก ท่อนทองแดง ชิ้นส่วนและอุปกรณ์ไฟฟ้า ทั้งนี้ สินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าวัตถุดิบหรือชิ้นส่วนที่ไทย ณ โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 ครั้งที่ 4 ณ โรงแรมแบงค็อก แมริออท
ต้องการน ามาใช้ในการผลิตสินค้าภายในประเทศ รวมทั้งมีระยะเวลายกเลิกภาษีภายใน ๑๕ ปี ซึ่งกระทรวง มาร์คีส์ ควีนส์ปาร์ค กรุงเทพฯ วันที่ 13 สิงหาคม 2563 (Facebook Live) ครั้งที่ 5 ณ โรงแรมอวานี ขอนแก่น
แอนด์ คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดขอนแก่น วันที่ 11 กันยายน 2563 (Facebook Live) ครั้งที่ 6 ณ โรงแรม