Page 14 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 14
- 10 - - 11 -
การลงนามในร่างความตกลงฯ พร้อมทั้งขอให้คณะรัฐมนตรีเสนอขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาในคราวเดียวกัน โดย บทที่ 1 บทบัญญัติเบื้องต้นและค านิยามทั่วไป
เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบตามที่เสนอและให้ขอความเห็นชอบต่อรัฐสภาแล้ว กระทรวงพาณิชย์สามารถด าเนินการ บทบัญญัติเบื้องต้นและค านิยามทั่วไป ประกอบด้วย 3 ข้อบท
ให้มีการลงนามได้ เมื่อลงนามแล้วจึงเสนอเรื่องต่อรัฐสภาเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ และเมื่อรัฐสภาให้ความ 1.1 ภาคีจัดตั้งความตกลง RCEP ให้เป็นเขตการค้าเสรี โดยสอดคล้องกับข้อ 24 ของความตกลงทั่วไปว่า
เห็นชอบแล้ว จึงจะด าเนินการแสดงเจตนาให้มีผลผูกพันตามข้อ 20.6 ของร่างความตกลงฯ ได้ ทั้งนี้ เป็นไปตาม ด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (General Agreement on Tariff and Trade: GATT 1994) และความตกลงทั่วไป
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการเสนอหนังสือสัญญาตาม ว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services: GATS) ขององค์การการค้าโลก (WTO)
บทบัญญัติมาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญฯ 1.2 ก าหนดค านิยามทั่วไปที่ใช้ในความตกลง
5.3.2 ตามมาตรา 178 วรรคสี่ของของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ก าหนดให้มีกฎหมาย 1.3 ระบุวัตถุประสงค์ของการจัดท าความตกลง RCEP คือ ให้เป็นกรอบหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่ทันสมัย
ก าหนดวิธีการที่ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและได้รับการเยียวยาที่จ าเป็นอันเกิดจาก ครอบคลุม คุณภาพสูง และเป็นผลประโยชน์ร่วมกัน เพื่อรองรับการขยายตัวของการค้าและการลงทุนในภูมิภาค
ผลกระทบของการท าหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 วรรคสามของรัฐธรรมนูญฯ อย่างไรก็ดี ในขณะที่การจัดท า และการพัฒนาของเศรษฐกิจโลก โดยค านึงถึงระดับการพัฒนาและความต้องการของภาคี โดยเฉพาะภาคีประเทศ
กฎหมายดังกล่าวยังไม่แล้วเสร็จ จึงเห็นสมควรให้กระทรวงพาณิชย์ด าเนินการให้ประชาชนเข้ามาส่วนร่วมในการ พัฒนาน้อยที่สุด อีกทั้งให้มีการเปิดเสรีการค้าสินค้า การค้าบริการ และการลงทุน ระหว่างกัน
แสดงความคิดเห็นและได้รับการเยียวยาตามแนวทางที่ปฏิบัติอยู่หรือตามที่เห็นสมควร
5.3.3 กระทรวงพาณิชย์ต้องขอความเห็นชอบบุคคลที่จะเป็นผู้ลงนาม ซึ่งหากไม่ใช่นายกรัฐมนตรี บทที่ 2 การค้าสินค้า
หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ต้องให้กระทรวงการต่างประเทศจัดท าหนังสือมอบอ านาจเต็ม (Full บทการค้าสินค้า ประกอบด้วย 21 ข้อบท (แบ่งเป็น 2 ส่วนส าคัญ คือ บทบัญญัติทั่วไปและการเข้า
Powers) เว้นแต่จะเป็นที่ยอมรับระหว่างคู่ภาคีว่าไม่จ าเป็นต้องแสดงหนังสือมอบอ านาจเต็มก็ให้ส่วนราชการ สู่ตลาดของสินค้า และมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี)
เจ้าของเรื่องแจ้งคณะรัฐมนตรีทราบด้วย ทั้งนี้ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2556 เรื่องหลักเกณฑ์ 2.1 ภาคีจะต้องลดหรือยกเลิกภาษีสินค้าตามตารางข้อผูกพันทางภาษี (ภาคผนวก 1) และหากอัตราภาษี
และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการออกหนังสือมอบอ านาจเต็ม ทั่วไปที่เรียกเก็บจริง (MFN applied rate) ต่ ากว่าอัตราภาษีที่ระบุไว้ตารางข้อผูกพันทางภาษี ผู้น าเข้ามีสิทธิ์ขอใช้
5.3.4 กระทรวงการต่างประเทศจะด าเนินการจัดท าหนังสือแจ้งการมีผลใช้บังคับของร่างความตกลง อัตราภาษี MFN ที่มีอัตราต่ ากว่าได้ รวมทั้งให้ผู้น าเข้าอาจสามารถขอคืนภาษีส่วนที่จ่ายเกินได้ หากผู้น าเข้าไม่ได้ขอ
RCEP เมื่อ (1) รัฐสภาให้ความเห็นชอบร่างความตกลง RCEP และ (2) กระทรวงพาณิชย์ได้มีหนังสือแจ้งยืนยันว่า ใช้ภาษี MFN ที่มีอัตราต่ ากว่าตอนน าเข้าสินค้า โดยขึ้นอยู่กับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของแต่ละภาคี
ฝ่ายไทยได้ด าเนินกระบวนการต่าง ๆ ที่จ าเป็นส าหรับการมีผลใช้บังคับของร่างความตกลง RCEP เสร็จสิ้นแล้ว 2.2 ภาคีมีการก าหนดอัตราภาษีที่แตกต่างกันให้กับบางภาคี โดยภาคีผู้น าเข้าจะให้สิทธิประโยชน์ทาง
ภาษีที่ก าหนดไว้ให้กับภาคีผู้ส่งออกส าหรับสินค้าที่มีการก าหนดอัตราภาษีแตกต่างกัน ก็ต่อเมื่อภาคีผู้ส่งออกเป็น
6. สรุปสาระส าคัญของความตกลง RCEP รายบท ประเทศถิ่นก าเนิดตามเงื่อนไขถิ่นก าเนิดสินค้าเพิ่มเติมจากที่ก าหนดไว้ในบทที่ 3 (กฎถิ่นก าเนิดสินค้า) ดังนี้
โครงสร้างความตกลง RCEP ประกอบด้วย 20 บท (17 ภาคผนวกแนบท้ายบท) คือ อารัมภบท (1) สินค้าที่ผลิตจากวัตถุดิบที่มีถิ่นก าเนิดสินค้าภายในประเทศภาคีทั้งหมด (produced exclusively: PE)
(1) บทบัญญัติเบื้องต้นและค านิยามทั่วไป (2) การค้าสินค้า (3) กฎถิ่นก าเนิดสินค้า (4) พิธีการศุลกากรและการ จะต้องมีกระบวนการผลิตในภาคีผู้ส่งออกเกินกว่ากระบวนการอย่างง่าย (2) สินค้าที่ถูกระบุไว้ในเอกสารแนบท้าย
อ านวยความสะดวกทางการค้า (5) มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (6) มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค ของตารางข้อผูกพันทางภาษีจะต้องมีสัดส่วนมูลค่าเพิ่มภายในประเทศของภาคีผู้ส่งออกไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง (7) การเยียวยาทางการค้า (8) การค้าบริการ (9) การเคลื่อนย้ายชั่วคราว ของมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ กรณีที่ภาคีผู้ส่งออกไม่สามารถท าตามเงื่อนไขดังข้างต้น ภาคีผู้น าเข้าจะใช้อัตราภาษีที่
ของบุคคลธรรมดา (10) การลงทุน (11) ทรัพย์สินทางปัญญา (12) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (13) การแข่งขัน ก าหนดไว้ให้กับภาคีที่มีสัดส่วนมูลค่าวัตถุดิบที่ได้ถิ่นก าเนิดสินค้าสูงที่สุดที่ใช้ในการผลิตแทน นอกจากนี้ ผู้น าเข้า
ทางการค้า (14) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (15) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (16) การ อาจขอเลือกใช้ระหว่าง (1) อัตราภาษีสูงสุดที่ภาคีผู้น าเข้าเรียกเก็บกับภาคีที่มีส่วนในวัตถุดิบที่ได้ถิ่นก าเนิดสินค้า
จัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ (17) บทบัญญัติทั่วไปและข้อยกเว้น (18) บทบัญญัติเกี่ยวกับสถาบัน (19) การระงับข้อ ที่ใช้ในการผลิตของสินค้าน าเข้า หรือ (2) อัตราภาษีสูงสุดที่ภาคีผู้น าเข้าเรียกเก็บกับภาคีใด ๆ ใน RCEP ไม่ว่า
พิพาท (20) บทบัญญัติสุดท้าย และ 4 ภาคผนวกแนบท้ายความตกลง คือ ภาคผนวก 1 ตารางข้อผูกพันทาง ภาคีผู้ส่งออกจะเป็นประเทศถิ่นก าเนิดหรือไม่ก็ตาม
ภาษี ภาคผนวก 2 ตารางข้อผูกพันเฉพาะส าหรับบริการ ภาคผนวก 3 ตารางข้อสงวนและมาตรการที่ไม่ 2.3 หากภาคีปรับปรุงหรือเร่งระยะเวลาการปฏิบัติตามข้อผูกพันทางภาษี สิทธิประโยชน์จากการ
สอดคล้องกับพันธกรณีส าหรับบริการและการลงทุน และภาคผนวก 4 ตารางข้อผูกพันเฉพาะในการเคลื่อนย้าย ปรับปรุงดังกล่าวจะต้องให้กับทุกภาคี
ชั่วคราวของบุคคลธรรมดา 2.4 ภาคีสามารถแก้ไขหรือถอนข้อผูกพันออกจากตารางข้อผูกพันทางภาษีของตนได้ โดยต้องได้รับ
ความเห็นชอบจากภาคีอื่นที่มีส่วนได้ส่วนเสียและเป็นไปตามมติของคณะกรรมการร่วม RCEP และต้องมีการ
อารัมภบท เจรจาชดเชยให้กับภาคีที่เกี่ยวข้อง
ความตกลง RCEP ซึ่งได้มีการประกาศเริ่มเจรจาเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 เป็นความตกลงที่มุ่ง 2.5 ภาคียกเว้นภาษีน าเข้าส าหรับสินค้าน าเข้าชั่วคราวเพื่อที่จะส่งออกกลับไปภายในระยะเวลาที่
ให้เกิดการรวมตัวทางเศรษฐกิจในภูมิภาคที่กว้างและลึกยิ่งขึ้น เสริมสร้างการเจริญเติบโตและการพัฒนาทาง ก าหนด รวมทั้งระบุเงื่อนไขที่ภาคีสามารถก าหนดได้ส าหรับสินค้าน าเข้าชั่วคราวที่ได้รับการยกเว้นภาษี ซึ่งรวมถึง
เศรษฐกิจอย่างเท่าเทียม และพัฒนาความร่วมมือบนความเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจที่มีอยู่ระหว่างภาคี โดยจะมีการ การจัดเก็บค่าประกันที่มีจ านวนไม่เกินกว่าภาษีและค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บในกรณีน าเข้าสินค้า นอกจากนี้ ภาคี
ก าหนดกฎระเบียบที่ชัดเจนเพื่ออ านวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุน ซึ่งค านึงถึงระดับของการพัฒนาที่ ยกเว้นภาษีให้กับคอนเทนเนอร์และพาเลทที่น าเข้ามาชั่วคราวและตัวอย่างสินค้าที่ไม่มีมูลค่าทางการค้าตามที่
แตกต่างกันระหว่างภาคี การได้รับการปฏิบัติที่พิเศษและแตกต่าง โดยเฉพาะกับกัมพูชา สปป. ลาว เมียนมา และ กฎหมายและระเบียบข้อบังคับของแต่ละภาคีก าหนดไว้
เวียดนาม ในระดับที่เหมาะสม รวมถึงความยืดหยุ่นเพิ่มเติมส าหรับภาคีที่เป็นประเทศพัฒนาน้อยที่สุด โดยให้ 2.6 ห้ามภาคีใช้มาตรการห้ามหรือจ ากัดการน าเข้าหรือส่งออกสินค้า นอกเหนือจากมาตรการทางภาษี
ความส าคัญกับการมีธรรมาภิบาลที่ดีและการสร้างสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่โปร่งใสและมั่นคง รวมถึงสิทธิของ และค่าธรรมเนียม โดยภาคีที่ใช้มาตรการฯ จะต้องแจ้งภาคีอื่นหากมีการร้องขอ และเปิดโอกาสในการหารือให้กับ
ภาคีที่จะออกกฎระเบียบเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะ ภาคีที่อาจได้รับผลกระทบรุนแรงจากมาตรการดังกล่าว