Page 18 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 18

- 14 -                                                    - 15 -

 4.10 ก าหนดให้มีจุดตอบข้อซักถาม (enquiry point) จ านวน 1 จุด หรือมากกว่า เพื่อตอบค าถามผู้ที่  บทที่ 6 มาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง
 สนใจและอ านวยความสะดวกในการเข้าถึงเอกสารที่เกี่ยวข้อง   บทมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ประกอบด้วย 14 ข้อบท
 4.11 ให้มีระยะเวลาปรับตัวในการปฏิบัติตามบางพันธกรณี ส าหรับบรูไนดารุสซาลาม กัมพูชา จีน   6.1 ให้ความส าคัญกับมาตรฐาน แนวทาง และข้อแนะน าระหว่างประเทศที่มีต่อการปรับประสาน
 อินโดนีเซีย สปป.ลาว มาเลเซีย เมียนมา และเวียดนาม ตามที่ระบุไว้ในภาคผนวก 4 เอ (ระยะเวลาในการปฏิบัติ  กฎระเบียบทางเทคนิค กระบวนการตรวจสอบและรับรอง มาตรฐานแห่งชาติและการลดอุปสรรคต่อการค้าที่ไม่จ าเป็น

 ตามพันธกรณี)          6.2 การจัดท า การน ามาใช้ และการใช้มาตรฐานต้องเป็นไปตามภาคผนวก 3 ของความตกลงว่าด้วย
               อุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า (Technical Barriers to Trade Agreement: TBT) ภายใต้ WTO และสนับสนุน
 บทที่ 5 มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช    ให้หน่วยงานให้ความร่วมมือและแบ่งปันข้อมูลเกี่ยวกับการก าหนดมาตรฐานให้ภาคีรับทราบ

 บทมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ประกอบด้วย 17 ข้อบท    6.3 ภาคีต้องใช้มาตรฐานระหว่างประเทศหรือส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานในการก าหนดกฎระเบียบทาง
 5.1 ยืนยันถึงสิทธิและพันธกรณีภายใต้ความตกลงว่าด้วยการใช้บังคับมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัย  เทคนิคตามขอบเขตที่ก าหนดไว้ในวรรค 4 ของข้อ 2 ของความตกลง TBT  โดยไม่เป็นการจ ากัดทางการค้าเกิน
 พืช (Agreement on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures: SPS) ภายใต้ WTO   กว่าความจ าเป็น รวมทั้งต้องพิจารณาเพื่อเป็นผลในการยอมรับความเทียบเท่าของกฎระเบียบทางเทคนิคของภาคี
 5.2 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการยอมรับมาตรการที่เท่าเทียมกัน   อื่น แม้ว่ากฎระเบียบเหล่านั้นจะมีความแตกต่างจากกฎระเบียบของประเทศตน ระยะเวลาระหว่างการประกาศ

 5.3 ส่งเสริมให้มีความร่วมมือในด้านต่าง ๆ อาทิ หลักการการปรับให้เข้ากับสภาพของภูมิภาค รวมทั้ง  กฎระเบียบทางเทคนิคและการบังคับใช้ต้องสมเหตุผลหรือไม่น้อยกว่า 6 เดือน ยกเว้นในกรณีที่เกิดปัญหาเร่งด่วน
 พื้นที่ปลอดศัตรูพืชหรือโรค และพื้นที่ที่มีความแพร่หลายของศัตรูพืชหรือโรคต่ า  การวิเคราะห์ความเสี่ยงต้อง  เกี่ยวกับความปลอดภัย สุขภาพ การคุ้มครองสิ่งแวดล้อม หรือความมั่นคงของประเทศหรือถูกคุกคามว่าจะเกิด
 สอดคล้องกับความตกลง SPS โดยมิให้กระทบต่อมาตรการฉุกเฉิน ภาคีทุกประเทศต้องไม่ระงับการน าเข้าสินค้า  ปัญหา และการจัดท าและการประกาศใช้กฎระเบียบทางเทคนิคต้องใช้รูปแบบเดียวกันอย่างสม่ าเสมอทั่วทั้ง
 ของภาคีอีกฝ่าย ด้วยเหตุผลเพียงว่าภาคีผู้น าเข้าก าลังทบทวนมาตรการ SPS  ของตนอยู่  หากภาคีผู้น าเข้าได้  อาณาเขตของตน

 อนุญาตให้มีการน าเข้าสินค้าดังกล่าวแล้วจากภาคีอื่นเมื่อขณะที่เริ่มการทบทวนมาตรการดังกล่าว   6.4 ภาคีต้องใช้มาตรฐานระหว่างประเทศหรือส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานในการก าหนดกระบวนการ
 5.4 การตรวจสอบต้องด าเนินการเป็นระบบ และด าเนินการเพื่อประเมินประสิทธิภาพในการควบคุม  ตรวจสอบและรับรอง รวมทั้งให้ความส าคัญในการยอมรับผลของกระบวนการตรวจสอบและรับรอง และส่งเสริม
 ก ากับดูแลของหน่วยงานผู้มีอ านาจ  และต้องให้โอกาสภาคีผู้ส่งออกในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการ  ความร่วมมือระหว่างหน่วยตรวจสอบและรับรองของตน รวมถึงต้องอนุญาตให้ภาคีอีกฝ่ายมีส่วนร่วมใน
 ตรวจสอบ และน าข้อคิดเห็นดังกล่าวมาพิจารณาก่อนท าการสรุปและด าเนินการใด ๆ   กระบวนการตรวจสอบและรับรองของตน โดยภาคีต้องให้ค าอธิบายในกรณีไม่ยอมรับผลการตรวจสอบและรับรอง

 5.5 ก าหนดการออกใบรับรองที่แสดงให้เห็นถึงข้อก าหนดด้านสุขอนามัยของภาคีผู้น าเข้าและออกโดย  และต้องให้ค าอธิบายเมื่อปฏิเสธการเข้าร่วมด าเนินการของหน่วยตรวจสอบรับรองของภาคีอื่น เมื่อได้รับการร้องขอ
 หน่วยงานผู้มีอ านาจของภาคีผู้ส่งออกเป็นภาษาอังกฤษ    6.5 สนับสนุนความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของภาคีในการแบ่งปันแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์
 5.6   การตรวจสอบการน าเข้าต้องอยู่บนพื้นฐานความเสี่ยงด้าน SPS  ที่เกี่ยวกับการน าเข้า โดยเป็นไป  ความร่วมมือในสาขาที่มีความสนใจร่วมกัน การยกระดับความร่วมมือในการพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐาน
 ตามระเบียบข้อบังคับและกฎหมายของภาคีผู้น าเข้า ผลการตัดสินหรือการด าเนินการสุดท้ายที่เกี่ยวกับการน าเข้า  กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบรับรอง

 ของสินค้าที่ไม่เป็นไปตามข้อก าหนดของภาคีผู้น าเข้าต้องมีความเหมาะสมต่อความเสี่ยงด้าน SPS    6.6 ภาคีสามารถร้องขอให้มีการหารือทางเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการค้าและบทบัญญัติ
 5.7   ก าหนดให้มีการทบทวนมาตรการฉุกเฉินภายในช่วงระยะเวลาที่สมเหตุสมผล รวมถึงการ  ภายใต้บทนี้ โดยให้เริ่มด าเนินการภายใน 60 วันเมื่อได้รับการร้องขอเป็นลายลักษณ์อักษร
 แลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อช่วยในการทบทวนมาตรการฉุกเฉินดังกล่าว โดยอยู่บนพื้นฐานข้อมูลล่าสุดที่สามารถหาได้   6.7 ภาคีต้องให้เอกสารฉบับเต็มหรือสรุปกฎระเบียบทางเทคนิคและกระบวนการตรวจสอบและรับรอง
 และต้องสามารถอธิบายเหตุผลของการยังคงใช้มาตรการฉุกเฉินนั้นต่อไป หากมีการร้องขอ   หากมีเอกสารเป็นภาษาอังกฤษอยู่แล้ว หากไม่มี ต้องสรุปข้อก าหนดกฎระเบียบและกระบวนการตรวจสอบและ

 5.8  ในการแจ้งมาตรการ SPS ต้องเปิดโอกาสให้ภาคีได้ให้ข้อคิดเห็นเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างน้อย 60   รับรองที่มีการแจ้งเป็นภาษาอังกฤษให้แก่ภาคีที่ร้องขอ เมื่อได้รับการร้องขอภายใน 30 วัน  และมีการก าหนด
 วัน หลังจากด าเนินการแจ้งมาตรการ หากมีการร้องขอ ต้องให้เอกสารหรือสรุปเอกสารที่อธิบายข้อก าหนดของ  ระยะเวลา 60 วัน ในการเปิดรับข้อคิดเห็นจากภาคีต่อกฎระเบียบทางเทคนิคใหม่นับจากวันที่แจ้ง WTO และหาก
 ร่างมาตรการ SPS ที่แจ้งต่อองค์การการค้าโลกเป็นภาษาอังกฤษแก่ภาคีที่ร้องขอ ภายใน 30 วัน   สินค้าโดนกักที่จุดน าเข้าเนื่องจากไม่เป็นไปตามกฎระเบียบหรือกระบวนการตรวจสอบรับรองให้ภาคีผู้น าเข้าแจ้ง

 5.9 สนับสนุนความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของภาคีในการแบ่งปันแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสบการณ์    เหตุผลกับผู้ประกอบการหรือผู้แทน และมีก าหนดเวลา 60 วันในการให้ข้อมูลหรือค าอธิบายให้กับภาคีที่ร้องขอ
 ความร่วมมือในสาขาที่มีความสนใจร่วมกัน การยกระดับความร่วมมือในการพัฒนาและปรับปรุงมาตรการ SPS ระหว่างกัน   6.8 ให้มีการก าหนดจุดติดต่อ  (contact point)  เพื่ออ านวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
 5.10 ให้มีการก าหนดจุดติดต่อ (contact point) เพื่ออ านวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร จ านวน 1   จ านวน 1 จุด หรือมากกว่า และแจ้งให้ภาคีอื่นทราบ ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ ทั้งนี้
 จุด หรือมากกว่า และแจ้งภาคีอื่นทราบ ภายใน 30  วันนับตั้งแต่วันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ  อีกทั้งจะต้องแจ้ง  จะต้องแจ้งทันทีหากมีการเปลี่ยนแปลง
 รายละเอียดของหน่วยงานผู้มีอ านาจ ผ่านจุดติดต่อดังกล่าว ทั้งนี้ จะต้องแจ้งหากมีการเปลี่ยนแปลงจุดติดต่อและ  6.9 ภาคีต้องไม่น าบทการระงับข้อพิพาทมาใช้กับบทนี้ โดยภาคีต้องทบทวนการไม่ใช้บทการระงับข้อ

 หน่วยงานผู้มีอ านาจ รวมถึงปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยอยู่เสมอ   พิพาทหลังความตกลงมีผลใช้บังคับแล้ว 2 ปี โดยในระหว่างการทบทวนจะมีการพิจารณาน าบทการระงับข้อ
 5.11 จะไม่มีการน าบทการระงับข้อพิพาทมาใช้กับบทนี้ จะมีการทบทวนหลังความตกลงมีผลใช้บังคับ  พิพาทมาใช้กับทั้งหมดหรือบางส่วนของบทนี้ การทบทวนจะต้องแล้วเสร็จภายใน 3  ปีนับจากวันที่ความตกลงมี
 แล้ว 2 ปี โดยในระหว่างการทบทวนจะมีการพิจารณาน าบทการระงับข้อพิพาทมาใช้กับทั้งหมดหรือบางส่วนของ  ผลใช้บังคับ

 บทนี้ การทบทวนจะต้องแล้วเสร็จภายใน 3 ปีนับจากวันที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ โดยจะมีการบังคับใช้กับภาคี
 ที่มีความพร้อม ส าหรับภาคีที่ยังไม่มีความพร้อม จะหารือกับภาคีอื่นและอาจมีการน ามาบังคับใช้เมื่อเข้าร่วมเป็น
 ภาคีอื่นที่มีพันธกรณีที่คล้ายคลึงกัน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23