Page 15 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 15

- 12 -

                       2.7 ภาคีสามารถร้องขอให้มีการหารือทางเทคนิคกับภาคีอื่น หากเห็นว่า มาตรการของภาคีนั้นส่งผล
               กระทบเชิงลบต่อการค้าของตน เพื่อหาข้อสรุปอันเป็นที่พึงพอใจร่วมกัน
                       2.8 ภาคีจะต้องแจ้งกระบวนการให้ใบอนุญาตน าเข้าของตนให้ภาคีอื่นทราบ โดยส าหรับกระบวนการให้
               ใบอนุญาตใหม่หรือที่ปรับแก้ไขภายหลังความตกลงมีผลใช้บังคับ ภาคีจะต้องแจ้งว่า มีเงื่อนไขตามรายการที่

               ก าหนดไว้หรือไม่ในการพิจารณาให้ใบอนุญาตน าเข้า เช่น การเป็นสมาชิกของสมาคม ความเห็นชอบจากสมาคม
               อุตสาหกรรมในการขอใบอนุญาตน าเข้า ประวัติการน าเข้าสินค้า ก าลังการผลิตขั้นต่ า ทุนจดทะเบียนขั้นต่ า
               นอกจากนี้ ภาคีจะต้องแจ้งภาคีอื่นเกี่ยวกับกระบวนการให้ใบอนุญาตใหม่หรือที่จะมีการปรับแก้ไขให้เร็วที่สุด

               เท่าที่จะเป็นไปได้ภายใน 30 วันก่อนที่กระบวนการใหม่จะมีผลใช้บังคับ แต่ไม่เกิน 60 วันหลังจากวันที่ประกาศ
               เผยแพร่กระบวนการดังกล่าว รวมทั้งให้มีการเผยแพร่กระบวนการใหม่หรือที่ปรับแก้ไขบนเว็บไซต์ทางการของ
               รัฐบาลอย่างน้อย 21 วันก่อนที่กระบวนการใหม่จะมีผลใช้บังคับ
                       2.9 ภาคีสามารถริเริ่มจัดท าแผนงานเกี่ยวกับมาตรการที่มิใช่ภาษีในสาขาเฉพาะ โดยจะอยู่ภายใต้การ

               ก ากับดูแลของคณะกรรมการด้านสินค้า ทั้งนี้ ภาคีจะต้องพยายามจัดท าแผนงานดังกล่าวให้เสร็จสิ้นไม่ช้าไปกว่า
               2 ปีภายหลังที่ได้ริเริ่มแผนงาน

               บทที่ 3  กฎถิ่นก าเนิดสินค้า

                       บทกฎถิ่นก าเนิดสินค้า ประกอบด้วย 35 ข้อบท (แบ่งเป็น 2 ส่วนส าคัญ คือ กฎถิ่นก าเนิดสินค้า
               และระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือรับรองถิ่นก าเนิดสินค้า) ภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะรายสินค้า) และ
               ภาคผนวก 3 บี (ข้อก าหนดเรื่องข้อมูลขั้นต่ า)
                       3.1 อนุญาตให้มีการสะสมถิ่นก าเนิดสินค้า โดยภาคีสามารถน าสินค้าที่ได้ถิ่นก าเนิดในภูมิภาค RCEP

               แล้ว มาสะสมถิ่นก าเนิดสินค้าต่อได้ โดยถือเสมือนว่าสินค้าดังกล่าวมีถิ่นก าเนิดในประเทศภาคีนั้น ๆ
                       3.2 ก าหนดเกณฑ์การได้ถิ่นก าเนิดสินค้า ได้แก่ (1)  เกณฑ์การผลิตหรือได้มาทั้งหมดภายในประเทศ
               ภาคี (Wholly Obtained: WO) ซึ่งใช้กับสินค้าที่ผลิตขึ้นหรือได้มาจากภาคีใดภาคีหนึ่งเพียงประเทศเดียว โดยไม่

               มีการใช้วัตถุดิบจากภาคีอื่นหรือนอกภาคี (2) เกณฑ์กระบวนการผลิตทั้งหมดภายในประเทศภาคีจากวัตถุดิบที่ได้
               ถิ่นก าเนิด (Produce Exclusively: PE) ซึ่งให้สิทธิถิ่นก าเนิดกับสินค้าที่ผลิตขึ้น โดยใช้วัตถุดิบที่ได้ถิ่นก าเนิดจาก
               ภาคีหลาย ๆ ประเทศมารวมกัน และ (3) กฎเฉพาะรายสินค้า (Product  Specific Rules:  PSRs) ซึ่งก าหนด
               เกณฑ์ถิ่นก าเนิดสินค้าส าหรับสินค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบจากนอกภาคี ส าหรับสินค้าทุกรายการ (5,205
               รายการที่พิกัดศุลกากรระดับ 6 หลัก ในระบบ HS  2012)  ตามตารางที่ระบุไว้ในภาคผนวก 3 เอ (กฎเฉพาะราย

               สินค้า) และจะต้องมีการแปลงพิกัดศุลกากรส าหรับตาราง PSRs ให้ทันสมัยตามที่มีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละรอบ
                       3.3 อนุญาตให้มีการรับรองถิ่นก าเนิดสินค้าได้ 3 รูปแบบ คือ (1) หนังสือรับรองถิ่นก าเนิดสินค้าที่ออก
               โดยหน่วยงานออกหนังสือรับรองถิ่นก าเนิดสินค้า (Issuing Authority) (2) ค ารับรองถิ่นก าเนิดสินค้าโดยผู้ส่งของ

               ออกรับอนุญาต (Declaration of Origin by Approved Exporters) หรือ (3) ค ารับรองถิ่นก าเนิดสินค้าโดยผู้ส่ง
               ของออกหรือผู้ผลิต (Declaration of  Origin  by Exporter or Producer) โดยภาคีต้องเริ่มใช้การรับรองถิ่น
               ก าเนิดสินค้าในรูปแบบที่ (3) ภายใน 10 - 30 ปี หลังจากที่ความตกลงมีผลใช้บังคับ
                       3.4 จะมีการทบทวนเรื่องการขยายการสะสมถิ่นก าเนิดที่ให้นับรวมกระบวนการผลิตและการเพิ่มมูลค่า

               สินค้าทุกรูปแบบที่เกิดขึ้นภายในภาคี (full cumulation) เมื่อรัฐผู้ลงนามทั้งหมดได้ใช้บังคับความตกลงแล้ว โดย
               ให้พิจารณาเสร็จสิ้นภายใน 5 ปี
                       3.5 ก าหนดระเบียบปฏิบัติในการรับรองถิ่นก าเนิดสินค้า (Operational Certification Procedures)
               ที่ระบุเงื่อนไขเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ โดยจะมีการหารือในรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบของเอกสารรับรองถิ่น

               ก าเนิดสินค้าหลังจากที่มีการลงนามแล้ว อีกทั้งมีการระบุรายการของข้อมูลที่จ าเป็นส าหรับหนังสือรับรองถิ่น
               ก าเนิดสินค้า  (Certificate  of Origin)  หรือการรับรองถิ่นก าเนิดสินค้าด้วยตนเองโดยผู้ส่งออก/ผู้ผลิต
               (Declaration of Origin) เช่น ชื่อและที่อยู่ของผู้ส่งออก ชื่อและที่อยู่ของผู้น าเข้า พิกัดศุลกากรและรายละเอียด
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20