Page 12 - สรุปสาระสำคัญ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP)
P. 12

- 8 -                                                      - 9 -

 ที อาร์ ร็อคฮิล จังหวัดสงขลา วันที่ 17 กันยายน 2563 (Facebook Live) ทั้งนี้ ในการสัมมนาแต่ละครั้ง  5. ความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 ประกอบด้วยภาคธุรกิจ กลุ่มเกษตรกร หน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา และ            5.1 กระทรวงพาณิชย์ได้จัดประชุมเพื่อจัดท าท่าทีของไทยและร่วมเจรจากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
 ประชาชนทั่วไปในแต่ละพื้นที่ โดยจากการรับฟังความคิดเห็นจากภาคส่วนต่าง ๆ เห็นว่า ความตกลง RCEP  มี  กระทรวงการต่างประเทศ (กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และกรมอาเซียน)
 ความส าคัญอย่างมากท่ามกลางบริบทการค้าโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และเมื่อความตกลง RCEP  มีผลใช้  กระทรวงการคลัง (กรมศุลกากร ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลาง และกรมสรรพากร) กระทรวง

 บังคับ จะท าให้เกิดการค้าระหว่างไทยกับสมาชิก RCEP มากขึ้น ตลอดจนเห็นว่าความตกลง RCEP  จะสร้าง  อุตสาหกรรม (ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม และส านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) กระทรวงเกษตร
 โอกาสให้กับสินค้าไทยในการส่งออกไปยังตลาด RCEP  โดยเฉพาะสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นสินค้าที่ประเทศไทยมี  และสหกรณ์ (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร และส านักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ) กระทรวง
 ศักยภาพ ในขณะเดียวกัน ผู้ประกอบการและเกษตรกรต้องการให้ภาครัฐมีมาตรการสนับสนุนเพื่อเป็นการ  ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงแรงงาน (กรมการจัดหางาน) ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

 เยียวยา/รองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความตกลง RCEP อาทิ การให้สินเชื่อ กองทุน การส่งเสริมการลงทุน   ส านักงานคณะกรรมการก ากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ธนาคารแห่งประเทศไทย ส านักงาน
 การอบรมและพัฒนาทักษะแรงงาน   คณะกรรมการก ากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย ส านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
 o จัดสัมมนาออนไลน์ (Webinar) เรื่อง “RCEP  the  Series:  ครบเครื่อง เรื่อง RCEP” โดย  (องค์การมหาชน) ส านักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
 ถ่ายทอดสดการสัมมนาฯ ผ่านช่องทาง Facebook Live  ของกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ และช่องทาง   ส านักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า ส านักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ส านักงาน
 Youtube “DTNChannel” จ านวน 6 ตอน ได้แก่ EP.1 ตอน รู้รอบข้อตกลง RCEP วันที่ 21 กรกฎาคม 2563   คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ส านักงานคณะกรรมการ

 EP.2 ตอน รู้ลึกการค้าสินค้าใน RCEP วันที่ 21 กรกฎาคม 2563 EP.3 ตอน ติดอาวุธ เสริมเกราะเจาะตลาด   กฤษฎีกา โดยได้มีการหารือร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคม
 RCEP วันที่ 21 กรกฎาคม 2563 EP.4 ตอน RCEP เชื่อมไทยสู่โลก สู้โควิด วันที่ 30 กรกฎาคม 2563                       ธนาคารไทย และภาคประชาสังคม ทั้งก่อนและหลังการเจรจามาโดยตลอด
 EP.5 ตอนโอกาสบริการลงทุนใน RCEP: ท าอย่างไรให้ปัง! วันที่ 30 กรกฎาคม 2563 EP.6 ตอน ถอดรหัส!      5.2 กระทรวงพาณิชย์ได้สอบถามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องถึงกระบวนการภายในประเทศที่ต้องด าเนินการ

 ทรัพย์สินทางปัญญา ใน RCEP วันที่ 6 สิงหาคม 2563   เพื่อปฏิบัติตามพันธกรณีของความตกลง มี 4 หน่วยงานที่แจ้งว่าจะด าเนินการในส่วนที่รับผิดชอบต่อไป ดังนี้
 o จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความตกลงลง RCEP แก่กลุ่มเป้าหมาย     5.2.1 กรมศุลกากร ได้แก่ (1) การปรับพิกัดอัตราศุลกากรจาก HS 2012 เป็น HS 2017 และออก
 ต่าง ๆ อาทิ พาณิชย์จังหวัด (วันที่ 23 ธันวาคม 2563) เครือข่ายธุรกิจ MOC  Biz Club  ประเทศไทย (วันที่      ประกาศกระทรวงการคลังเพื่อยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรส าหรับสินค้าที่ผูกพันการลดภาษีภายใต้
 22 ธันวาคม 2563) สภาอุตสากรรมแห่งประเทศไทย (วันที่ 15 ธันวาคม และวันที่ 24 ธันวาคม 2563)                     ความตกลง RCEP และ (2) การออกประกาศกรมศุลกากร และค าสั่งทั่วไปกรมศุลกากร เพื่อก าหนดหลักเกณฑ์

 สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย (วันที่ 18 ธันวาคม 2563) ตลอดจนส่งข้อมูลเกี่ยวกับความตกลงลง RCEP   และพิธีการศุลกากรส าหรับการยกเว้นอากรและลดอัตราอากรศุลกากรภายใต้ความตกลง RCEP
 ให้กับส านักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และสมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย เพื่อเผยแพร่ให้แก่เครือข่าย     5.2.2 ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม การด าเนินการออกประกาศกระทรวงเพื่อปฏิบัติตาม
 ผู้ประกอบการ SMEs   พันธกรณีในตารางข้อผูกพันทางภาษี (ภาคผนวก 1) เรื่องเงื่อนไขการน าเข้าสินค้าชิ้นส่วนยานยนต์ (Original

 o ชี้แจงต่อรัฐสภาผ่านการน าเสนอข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมาธิการการ  Equipment Manufacturing: OEM) ที่จะน าเข้าภายใต้ความตกลง RCEP จ านวน 125 รายการ
 ต่างประเทศ (วันที่ 3 กันยายน 2563) คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา (วันที่ 8 กันยายน      5.2.3 กรมการค้าต่างประเทศ ได้แก่ (1) การออกหนังสือรับรองถิ่นก าเนิดสินค้า หลังจากที่ภาคี
 2563) คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และการอุตสาหกรรม วุฒิสภา (วันที่ 20 ตุลาคม 2563) คณะกรรมาธิการ  RCEP  เจรจาแนวทางการปฏิบัติในการออกหนังสือรับรองถิ่นก าเนิดสินค้าและรูปแบบหนังสือรับรองถิ่นก าเนิด
 การพัฒนาเศรษฐกิจ (วันที่ 21 ตุลาคม 2563) คณะกรรมาธิการการพาณิชย์และทรัพย์สินทางปัญญา (วันที่     สินค้าภายใต้ความตกลง RCEP  แล้วเสร็จ (2) การน าข้อมูลกฎถิ่นก าเนิดสินค้าเข้าในฐานข้อมูลระบบตรวจ
 28 ตุลาคม 2563) คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรม (วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563) คณะกรรมาธิการความ  คุณสมบัติของสินค้าทางด้านถิ่นก าเนิด และ (3) การออกกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ คุณสมบัติ การขึ้น

 มั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ (วันที่ 23 ธันวาคม 2563)    ทะเบียน และจัดท าระบบอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกที่ได้รับอนุญาตในการออกใบรับรอง
 o เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความตกลง RCEP พร้อมค าแปลอย่างไม่เป็นทางการ และสรุปสาระส าคัญ  ถิ่นก าเนิดสินค้าด้วยตนเอง
 ของความตกลง RCEP  ผ่านเว็บไซต์ของกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (www.dtn.go.th) ทันทีที่มีการ                   5.2.4 กรมทรัพย์สินทางปัญญาอยู่ระหว่างด าเนินการเพื่อแก้ไขกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่

 ลงนามความตกลงฯ เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2563 รวมถึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นต่อความตกลง   เกี่ยวข้องเพื่อปฏิบัติตามพันธกรณี (1) การเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาว่าด้วยลิขสิทธิ์และสนธิสัญญาว่าด้วยการแสดง
 RCEP ผ่านทางเว็บไซต์ของกรมฯ ตั้งแต่วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563    และสิ่งบันทึกเสียงขององค์การทรัพย์สินทางปัญญาโลก (2) สิทธิแต่เพียงผู้เดียวของนักแสดง (3) สิทธิในการได้รับ
 o จัดการสัมมนาประชาพิจารณ์ เรื่อง  “เจาะลึกความตกลง RCEP  และการเตรียมใช้ประโยชน์-  ค่าตอบแทนส าหรับการแพร่เสียงแพร่ภาพในส่วนที่เกี่ยวกับนักแสดง (4) การประกาศโฆษณาค าขอรับสิทธิบัตร
 ปรับตัว” เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2563 ณ โรงแรมนิกโก้ กรุงเทพฯ โดยมีผู้เข้าร่วมการสัมมนาฯ ทั้งจากภาค  เมื่อพ้นระยะเวลา ๑๘ เดือนนับจากวันยื่นค าขอ และ (5) การท าลายของกลางละเมิดลิขสิทธิ์และเครื่องหมาย

 ธุรกิจ กลุ่มเกษตรกร ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคประชาสังคม สถาบันการศึกษา และประชาชนทั่วไป รวม 152 คน   การค้าในคดีแพ่ง ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายในการพัฒนาระบบทรัพย์สินทางปัญญาของไทย
 โดยจากการตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเข้าเป็นภาคีความตกลง RCEP  ของไทย และเห็นว่า                                5.3 กระทรวงการต่างประเทศ และส านักงานกฤษฎีกาพิจารณาแล้วเห็นว่า
 ความตกลง RCEP มีประโยชน์ในการขยายโอกาสและสร้างแต้มต่อทางการค้า ท าให้การค้ามีความสะดวกมาก     5.3.1 ความตกลง RCEP  มีการใช้ถ้อยค าที่แสดงถึงความมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดผลผูกพันทาง
 ยิ่งขึ้น เนื่องจากมีการประสานกฎเกณฑ์ที่เป็นมาตรฐานร่วมกัน เพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าของไทย โดยเฉพาะ  กฎหมายระหว่างกันตามกฎหมายระหว่างประเทศ จึงเข้าลักษณะเป็นหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 ของ

 สินค้าเกษตร และเพิ่มตัวเลือกในการน าเข้าวัตถุดิบเพื่อน ามาผลิตภายในประเทศ เกิดการจ้างงาน ตลอดจน  รัฐธรรมนูญฯ และโดยที่เนื้อหาของร่างความตกลงเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการค้าเสรีอันเข้าลักษณะเป็นหนังสือสัญญาที่
 ส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในตลาดการค้าโลก ท าให้เศรษฐกิจในภาพรวมของ  อาจมีผลกระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม หรือการค้า หรือการลงทุนของประเทศอย่างกว้างขวางตามที่มี
 ประเทศดีขึ้น ในขณะเดียวกัน  ความตกลง RCEP จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค เนื่องจากมีสินค้าและบริการให้  การก าหนดขอบเขตและความหมายไว้ในมาตรา 178 วรรคสองและวรรคสาม ของรัฐธรรมนูญฯ จึงต้องได้รับความ
 เลือกบริโภคมากขึ้น   เห็นชอบของรัฐสภา ดังนั้น กระทรวงพาณิชย์จึงต้องเสนอเรื่องต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17