Page 210 - คำแปลอย่างไม่เป็นทางการ ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (อาร์เซ็ป)
P. 210
- คำ�แปลอย่�งไม่เป็นท�งก�ร -
(ซี) การแบ่งปันข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการยอมรับร่วมกันของแผนการดังกล่าว และ (ซี) ลดข้อก าหนดด้านการใช้เอกสารให้น้อยที่สุดส าหรับการตรวจปล่อยของเร่งด่วน
(ดี) พิจารณาแนวทางในการเพิ่มผลประโยชน์ของแผนการดังกล่าวเพื่อส่งเสริมการค้า (ดี) ตรวจปล่อยของเร่งด่วนภายใต้สภาพแวดล้อมตามปกติให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ
และก าหนดให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรเป็นผู้ประสานงานกับผู้ประกอบการ ภายในหก (6) ชั่วโมง หากเป็นไปได้ หลังจากที่สินค้ามาถึง และมีการส่งข้อมูล
ที่ได้รับอนุญาตเพื่อแก้ไขปัญหาด้านศุลกากรเป็นอย่างแรก ที่ศุลกากรต้องการส าหรับการตรวจปล่อยเรียบร้อยแล้ว
ข้อ 4.14: การบริหารความเสี่ยง (อี) พยายามที่จะน าพิธีการตามอนุวรรค (เอ) ถึง (ดี) มาใช้กับสินค้าที่ไม่ว่าจะมีน้ าหนัก
หรือราคาเท่าใดก็ตาม ทั้งนี้ อนุญาตให้ภาคีก าหนดพิธีการน าเข้าเพิ่มเติมได้
1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องน ามาใช้หรือคงไว้ซึ่งระบบบริหารความเสี่ยง ส าหรับการควบคุม ซึ่งรวมถึงใบขนสินค้าและเอกสารประกอบ และการช าระอากรและภาษี และจ ากัด
ทางศุลกากร พิธีการน าเข้าเพิ่มเติมตามประเภทของสินค้า หากว่าพิธีการนั้นไม่ได้จ ากัดเฉพาะสินค้า
ที่มีมูลค่าต่ า เช่น เอกสาร และ
2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องออกแบบและใช้ระบบบริหารความเสี่ยงในลักษณะที่หลีกเลี่ยงการเลือกปฏิบัติ
อย่างไม่เป็นธรรมหรือไม่มีกฎเกณฑ์หรือมีการแอบแฝงข้อจ ากัดต่อการค้าระหว่างประเทศ (เอฟ) เท่าที่จะเป็นไปได้ ให้มีการก าหนดมูลค่าสินค้าหรือมูลค่าที่น ามาค านวณภาษีขั้นต ่า
ที่ไม่มีการเรียกเก็บอากรและภาษี นอกเหนือจากสินค้าที่ระบุเกณฑ์เป็นการเฉพาะ
3. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องให้ความส าคัญกับการควบคุมทางศุลกากร และการควบคุมพรมแดน อยู่แล้ว ส่วนภาษีภายใน เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่มและภาษีสรรพสามิต ที่จัดเก็บ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จะเป็นไปได้ ส าหรับสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง และเร่งรัดการตรวจ กับการน าเข้าจะต้องเป็นไปโดยสอดคล้องกับข้อ 3 ของแกตต์ 1994 ไม่อยู่ในบังคับ
ปล่อยสินค้าที่มีความเสี่ยงต่ า ภาคีแต่ละฝ่ายอาจคัดเลือกตรวจสินค้าโดยวิธีการสุ่มตรวจ ของบทบัญญัตินี้
เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารความเสี่ยงด้วย
2. ไม่มีความใดในวรรค 1 จะมีผลกระทบต่อสิทธิของภาคีในการตรวจสอบ กัก ยึด ริบ หรือ
4. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องก าหนดให้การบริหารความเสี่ยงอยู่บนพื้นฐานของการประเมินความเสี่ยง ไม่ให้มีการน าเข้าสินค้า หรือด าเนินการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย รวมทั้งในส่วนที่
โดยผ่านเกณฑ์การคัดเลือกที่เหมาะสม ซึ่งเกณฑ์เหล่านั้นอาจรวมถึง พิกัดศุลกากรในระบบ เกี่ยวกับการใช้ระบบบริหารความเสี่ยง ยิ่งกว่านั้น ไม่มีความใดในวรรค 1 ห้ามภาคี
ฮาร์โมไนซ์ ธรรมชาติและรายละเอียดของสินค้า ถิ่นก าเนิดสินค้า ประเทศต้นทางสินค้า เรียกข้อมูลที่เป็นเงื่อนไขในการตรวจปล่อยเพิ่มเติมและด าเนินการเกี่ยวกับการออกใบอนุญาต
มูลค่าของสินค้า ประวัติการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ค้า และรูปแบบการขนส่ง ที่ไม่เป็นไปโดยอัตโนมัติ
ข้อ 4.15: ของเร่งด่วน ข้อ 4.16: การตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย
1. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องน ามาใช้หรือคงไว้ซึ่งพิธีการศุลกากรส าหรับการออกของอย่างเร่งด่วน 1. โดยมุ่งหมายที่จะเร่งรัดการตรวจปล่อยสินค้า ภาคีแต่ละฝ่ายจะต้องน ามาใช้หรือคงไว้
โดยอย่างน้อยที่สุดส าหรับสินค้าที่น าเข้ามาทางอากาศยาน ขณะที่คงไว้ซึ่งการควบคุม ซึ่งการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย เพื่อท าให้มั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย
5
ทางศุลกากร และการเลือกโดย และระเบียบข้อบังคับศุลกากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(เอ) จัดให้มีกระบวนการจัดการข้อมูลก่อนการมาถึงของสินค้าที่เกี่ยวกับของเร่งด่วน 2. ภาคีแต่ละฝ่ายต้องเลือกบุคคลหรือสินค้าโดยพิจารณาจากพื้นฐานความเสี่ยงเพื่อการ
ตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย ซึ่งอาจรวมถึงการใช้หลักเกณฑ์เรื่องการเลือกสรรที่เหมาะสม
(บี) อนุญาตให้ส่งข้อมูลเพียงครั้งเดียวที่ครอบคลุมทุกสินค้าที่เป็นของเร่งด่วน ภาคีแต่ละฝ่ายต้องด าเนินการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยในลักษณะโปร่งใส หากมีบุคคล
เท่าที่จะเป็นไปได้ผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบและมีผลการตรวจสอบแล้ว ภาคีต้องแจ้งโดยไม่ล่าช้าให้บุคคล
ผู้นั้นทราบถึงผลการตรวจสอบ และแจ้งสิทธิและข้อผูกพัน รวมทั้งเหตุผลส าหรับ
ผลการตรวจสอบดังกล่าว
5
ในกรณีที่ภาคีมีพิธีการปัจจุบันที่ด าเนินการภายใต้ข้อนี้อยู่แล้ว บทบัญญัตินี้ไม่ได้เรียกร้องให้ภาคีต้องจัดพิธีการ
ส าหรับปล่อยของเร่งด่วนแยกต่างหากอีก )เอ) ผลลัพธ์
4-12 4-13