Page 63 - การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการ เพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
P. 63
54
การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการเพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
2. การให้บริการผู้รับบริการทางตรง เป็นการยื่นมือให้ความ
ช่วยเหลือต่อผู้พิการซึ่งสามารถเป็นไปได้ทั้งรูปแบบการแนะน�
การแนะแนว หรือการให้ค�ปรึกษา ในปัญหาต่าง ๆ ที่ผู้พิการเผชิญ
อาจเป็นปัญหาด้านการท�งาน ได้แก่ ปัญหาการท�งานร่วมกับ
คนปกติ การไม่กล้าออกไปสู่การท�งาน การปรับตัวที่ท�งาน
เจตคติของ ตัวเอง ครอบครัว สังคม การสร้างคุณค่าและ
เห็นคุณค่าในตนเอง การประสานงานเกี่ยวกับการไม่ได้เงินค่า
ครองชีพผู้พิการ การขาดโอกาส เนื่องจากครอบครัวไม่
สนับสนุนให้ท�งาน การไม่มีสิ่งอ�นวยความสะดวกในที่ท�งาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน การเตรียมความพร้อมคนพิการ
กระบวนการฟื้นฟูอาชีพ การประสานงานผู้พิการที่สนใจเข้า
ท�งานการประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูลกับคนพิการ เป็นต้น
3. การให้บริการชุมชนทางอ้อม เป็นการเข้าไปมีส่วนร่วม
ต่อนโยบายสาธารณะ เช่น การเข้าร่วมประชุมกับหน่วยงาน
ภาครัฐในการก�หนดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ การหา
ช่องทางตลาดกระจายสินค้าผู้พิการ การประสานงานหาก
กรณีผู้พิการต้องการการรวมกลุ่มคนพิการ การประสานงานให้
สถานประกอบการมาสนับสนุนการประกอบอาชีพในชุมชน
ในรูปแบบของ CSR เช่น ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์การฝึกอาชีพ
ผู้พิการ การเป็นคณะกรรมการสนับสนุนกิจกรรมชุมชนใน
การพัฒนาศักยภาพคนพิการ เป็นต้น
4. การให้บริการผู้รับบริการทางอ้อม การเป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับ
สิทธิคนพิการ การประกอบอาชีพและการมีงานท� ระหว่างรัฐ
สถานประกอบการ และผู้พิการ เช่น การต้องการเงินทุน
ประกอบอาชีพอิสระ กระบวนการยื่นขอ การด�เนินการกรณี
สถานประกอบการเลี่ยงกฎหมาย คนปกติหาผลประโยชน์จาก
คนพิการ การสนับสนุนให้คนพิการยืนยันสิทธิตาม พระราช
บัญญัติคนพิการ เป็นต้น