Page 92 - การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการ เพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
P. 92
83
การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการคนพิการเพื่อการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ
การก�หนดต�แหน่งชีวิตของตนเองดังกล่าว ส่งผลให้บุคคล
เลือกบทบาทในการแสดงออกบทบาทในการเล่นเกมมี 3 บทบาท
ซึ่งเป็นผลมาจากการเลี้ยงดู และประสบการณ์ในวัยเด็ก มีดังต่อไปนี้
1) ผู้กล่าวหา (Persecutor) เป็บทบาทของบุคคลที่ชอบว่า
กล่าว ต�หนิติเตียนผู้อื่น แสดงอ�นาจ และประเมินตัดสินผู้อื่น
ตามกฎเกณฑ์ของตน เช่น “คุณท�โง่ ๆ แบบนี้ได้อย่างไร”
“คนอย่างคุณไม่มีความสามารถที่จะจัดการเรื่องนี้ได้หรอก”
เป็นต้น มีทรรศนะในการมองตนเองและผู้อื่นแบบ ฉันดี-เธอไม่ดี
I’m Ok–You’re not OK
2) ผู้ช่วยเหลือ (Rescuer)เป็นบทบาทที่บุคคลมีท่าทีชอบเสนอตน
ให้ความเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือผู้อื่นท�อะไรให้ผู้อื่น จะคอยยื่นมือ
เข้าไปให้ความช่วยเหลือกับทุกคน หรือแม้กระทั่งกับคนที่ไม่
ต้องการความช่วยเหลือ หรือคนที่ไม่ยอมช่วยเหลือตนเองบุคคล
ประเภทผู้ช่วยเหลือนี้ชอบที่จะสอดแทรกเข้าไปตัดสินใจให้ผู้อื่น
และชอบประเมินความสามารถของผู้อื่นให้ต�่ากว่าที่เป็นจริง
และมักจะมีความรู้สึกซ่อนเน้นอยู่ในส่วนลึกว่า ผู้อื่นไม่สามารถ
แก้ปัญหาต่าง ๆ ด้วยตัวของเขาเองได้ หรือผู้อื่นจะเจริญเติบโต
พัฒนาไปได้มากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับค�แนะน�และความ
ช่วยเหลือที่ผู้ช่วยเหลือจะมอบให้ ดังนั้นผู้ช่วยเหลือจึงชอบที่จะดึง
ผู้อื่นให้ขึ้นมาอยู่กับตนเองค�พูดที่ผู้ช่วยเหลือชอบใช้ เช่น “มา.....
ฉันท�ให้คุณเอง” หรือ “ถ้าฉันเป็นคุณนะฉันจะ…” เป็นต้น
3) เหยื่อหรือผู้เคราะห์ร้าย (Victim) ได้แก่บทบาทที่เป็นความ
สงสารตนเอง จะแสดงออกมาให้เห็นว่า ท�อะไรไม่ได้ช่วยตัวเอง
ไม่ได้ทั้ง ๆ ที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ความทุกข์ยากของ
ตนเองเกิดขึ้นเพราะตนเองโชคร้าย หรือแสดงว่าไร้ความสามารถ
ทั้ง ๆ ที่จริงแล้ว ตนมีความสามารถบุคคลที่เล่นบทนี้ก็เพื่อ
ต้องการให้ผู้อื่นมาช่วยเหลือปลอบโยน ซึ่งจะพบมากกับทรรศนะ
ขอคนพิการ ซึ่งมีทรรศนะในการมองตนเองและผู้อื่นแบบ
ฉันไม่ดี-เธอดี I’m not OK–You’re OK