Page 63 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 63
ในปี 2563 ธนาคารออมสินได้แสดงถึงความมุ่งมั่นต่อการดำาเนินงานตอบสนองต่อเป้าหมายหลัก
จำานวน 2 เป้าหมาย คือ เป้าหมายที่ 1 การแก้ไขปัญหาความยากจน และเป้าหมายที่ 10 การลดความเหลื่อมลำ้า
ซึ่งสอดคล้องต่อบทบาทที่ทางธนาคารออมสินวางเป้าหมายที่จะมุ่งสู่การเป็นธนาคารเพื่อสังคม (Social Bank)
เพื่อสร้างผลกระทบเชิงบวกแก่สังคม ตามแนวคิด “Making POSITIVE Impact on Society” ผ่านการสร้างความยั่งยืน
และดูแลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างสมดุล ทั้งมิติภายนอกองค์กร (External Sustainability) ในการสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจ
ฐานราก สังคม และชุมชน (Social Value proposition) ควบคู่กับมิติภายในองค์กร (Internal Sustainability)
ในการดำาเนินภารกิจเชิงพาณิชย์ เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางการเงินให้แก่องค์กรควบคู่ไปด้วยกัน
In 2020, GSB has showed its commitment to conduct business operation in response to
two key SDGs, namely GOAL 1: No Poverty and GOAL 10: Reduced Inequality.
This is in line with GSB's role of becoming a Social Bank in order to “Making POSITIVE Impact on Society”,
focusing on sustainability development while serving stakeholders in a well-balanced manner
in term of external sustainability and strengthen the grassroots economy, society and communities
(social value proposition) in parallel with the internal sustainability in the implementation
of commercial missions in order to build financial strength for the organization.
เป้าหมายการพัฒนา ตัวอย่างการดำาเนินงานที่สำาคัญ
ที่ยั่งยืนที่สำาคัญ
• ดำาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล ทำาหน้าที่เป็นผู้จัดหาเงินทุนให้กับหน่วยงานของรัฐ พัฒนา
ผู้ประกอบการรายย่อยและชุมชน ส่งเสริมการออม ดูแลประเทศ เช่น มาตรการช่วยเหลือ
ผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทั้งมาตรการ
เยียวยา การให้สินเชื่อเสริมสภาพคล่อง และฟื้นฟูเศรษฐกิจ และมาตรการฟื้นฟูเชิงพื้นที่เพื่อการ
ช่วยเหลือเร่งด่วน โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตำ่า (Soft Loan) ให้กับสำานักงานสถานธนานุเคราะห์
• การเสริมสร้างความแข็งแรงทางการเงิน โดยผ่านโครงการสินเชื่อเพื่อกลุ่มเศรษฐกิจฐานราก
เช่น สินเชื่อประชารัฐสร้างไทย ธนาคารประชาชนสำาหรับพ่อค้าแม่ค้าหาบเร่แผงลอย
ผู้ประกอบอาชีพอิสระรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย
• แก้ไขปัญหาความยากจนด้วยการยกระดับเศรษฐกิจฐานราก เช่น สนับสนุนแหล่งเงินทุน
สินเชื่อดอกเบี้ยตำ่า และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐให้สามารถนำาไป
ประกอบอาชีพและเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบได้
• ส่งเสริมการออมและพัฒนาทักษะทางการเงิน ด้วยผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินครบวงจร
ที่ลำ้าสมัยด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล เช่น เงินฝากเผื่อเรียก Digital Savings แบบไม่มีสมุดบัญชี
สลากออมสินพิเศษดิจิทัล การเปิดสถาบันการเงินประชาชนแห่งแรกของประเทศไทย
เพื่อรับฝาก-ถอนเงิน และธุรกรรมทางการเงินให้กับสมาชิกและชุมชน รวมถึงเป็นแหล่งเงินทุน
หมุนเวียนในการประกอบอาชีพให้กับสมาชิกและชุมชน
GSB SOCIAL BANK SUSTAINABILITY REPORT 2020 รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำาปี 2563 57