Page 67 - SUSTAINABILITY REPORT 2020
P. 67

โดยหลังจากที่ธนาคารออมสินได้ลงนามรับหลักการฯ  ฉบับนี้แล้ว ธนาคารมีแผนงานการพัฒนาการดำาเนินงานภารกิจ
               และกระบวนการทุกด้านให้สอดคล้องกับหลักการฯ เพื่อมุ่งให้เกิดผลลัพธ์เชิงบวกต่อสังคมที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน พร้อม
               รายงานผลการดำาเนินงานตามหลักการฯ ดังกล่าว  พร้อมทั้งนำาเสนอผลความคืบหน้าและปรับปรุงการดำาเนินงานให้เป็น
               ธนาคารที่มีความรับผิดชอบตามมาตรฐานสากลต่อไป
                   After GSB has signed MOUs to accept this principle, the Bank will improve its operations, missions and processes
               in accordance with the principles in order to create tangible positive results for society, and prepare a report on
               the operating results according to the aforementioned principles, as well as present progress and improve operations
               to become a responsible bank according to universal standards.




                      ธนาคารออมสินกับการขับเคลื่อน BCG Model สู่การปฏิบัติ


                      Government Savings Bank to Drive BCG Model into Practical
                      Implementation


                   BCG Model หรือ โมเดลเศรษฐกิจใหม่ มีความสำาคัญอย่างมากต่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน ทั้งในมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ
               และสิ่งแวดล้อม ซึ่งตอบโจทย์รัฐบาลในการขับเคลื่อนประเทศไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 ผ่านการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ คือ เศรษฐกิจชีวภาพ
               (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy)  และเศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) ไปพร้อม ๆ กัน จึงเป็นกลไก
               ที่มีศักยภาพสูงในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศอย่างทั่วถึง สามารถกระจายโอกาสและลดความเหลื่อมลำ้า สอดคล้อง
               กับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) 2 ด้าน ที่ธนาคารออมสินยึดโยงเป็นกรอบยุทธศาสตร์ธนาคารเพื่อสังคม นั่นคือ การแก้
               ปัญหาความยากจน และลดความเหลื่อมลำ้าในสังคม

                   ธนาคารออมสินได้กำาหนดแนวทางการบูรณาการ BCG Model เข้าสู่กระบวนการดำาเนินงานที่สำาคัญ เพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน
               โมเดลเศรษฐกิจใหม่ สู่การปฏิบัติจริง ยกตัวอย่างการกำาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุมัติสินเชื่อ ภายใต้กรอบของ “หลักการ
               ธนาคารที่รับผิดชอบ” หรือ Responsible Banking กล่าวคือ


                   BCG Model or new economic model are very important to the sustainable development of the country in social,
               economic and environmental dimensions which respond to the government’s policy to drive the country towards Thailand
               4.0 through simultaneous development of 3 economies namely Bio Economy, Circular Economy and Green Economy.
               Therefore, the model is a high potential mechanism to improve the quality of life of the people, widen opportunities
               and reduce inequalities in line with two areas of the Sustainable Development Goals (SDGs), namely no poverty and
               reduced inequality, adopted by the Bank as social banking strategic framework.

                   GSB has established guidelines for integrating the BCG Model into key operational processes in order to drive a
               new economic model into practical implementation, such as, determining criteria for credit approval under the framework
               of “Responsible Banking Principles”, including



                     ธนาคารให้การสนับสนุนธุรกิจในอุตสาหกรรมเป้าหมาย BCG Model 4 อุตสาหกรรม S-Curve ที่รัฐบาลกำาหนด โดยจัดให้
                     เป็น “Positive List” ได้แก่ อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร อุตสาหกรรมพลังงานและเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมการแพทย์
                     และสุขภาพ และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ โดยพิจารณาให้สินเชื่อพร้อมลดอัตราดอกเบี้ยเป็นพิเศษ

                     The Bank supports businesses in the targeted industries under BCG Model and 4 S-Curve industries specified as “Positive
                     List” by the government by providing loans with special privileged interest rate. These industries include agriculture and food
                     industry, energy and biochemical industry, medical and health industry, and the tourism and service industry.











 GSB SOCIAL BANK  SUSTAINABILITY REPORT 2020                           รายงานการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประจำาปี 2563  61
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72