Page 152 - เอกสารคำสอนทวารวดี - ศรีวิชัย
P. 152

ภาพที่ 113 ภาพปูนปั้นภายในถ ้ายายจูงหลาน จังหวัดเพชรบุรี



                              จากรูปแบบศิลปะของภาพปูนปั้นภายในถ ้ายายจูงหลานซึ่งมีลักษณะพื้นเมืองทวารวดี
                       อย่างแท้จริง ท าให้เราอาจก าหนดอายุได้ในราวพุทธศตวรรษที่ 14 -16 และคงมีการบูรณะ

                       ในสมัยหลังด้วย แต่ภาพปูนปั้นที่มีความน่าสนใจแห่งนี้ก็ยังมีประเด็นเปิดกว้างทั้งในแง่การ
                       ก าหนดอายุและการแปลความหมายทางประติมานวิทยาให้ได้ศึกษาในโอกาสต่อไป


                              4.3.5)  ภูเวียง อ าเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น

                              ภาพสลักพระพุทธรูปที่ภูเวียงอยู่บนเพิงผาหินที่สูงจากระดับพื้นดินเบื้องล่างประมาณ
                       340 เมตร พุทธลักษณะของพระพุทธรูปซึ่งมีความยาว 3.80 เมตรนี้คือ ทรงประทับนอน

                       ตะแคงขวา อันเป็นท่านอนเมื่อคราวเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน พระกรข้างขวาหนุนพระเศียร
                       ลักษณะพระพักตร์เป็นแบบศิลปะทวารวดี ใกล้ๆ กันนั้นมีจารึกอักษรหลังปัลลวะ ภาษาสันสกฤต

                       อ่านได้ว่า “ราผาจยา” และ “วิทยา” แปลว่า “ให้พูด” และ “ความรู้” ก าหนดอายุจากแบบอักษรได้
                       ในราวพุทธศตวรรษที่ 14
                                            85






                                                               146
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157