Page 262 - BDMS AWARDS 2024
P. 262
2. ปัญหาแนวัคัิด/ที�มาแลัะคัวัามส่ำาคััญของโคัรงการ
(Background/Introduction)
เด็กปัฐมีวัย เปั็นช่วงวัยแห่งการเร่ยนร้�และพัฒนาในทีุ่ก ๆ ด�านที่ั�งด�านร่างกาย อารมีณ์์ สัังคมี สัติิปััญญา
นับัเปั็นรากฐานสัำาคัญของการเติร่ยมีความีพร�อมีในการเติิบัโติไปัเปั็นผู้้�ใหญ่ที่่�มี่คุณ์ภาพในอนาคติ เด็กปัฐมีวัยควรได�
เร่ยนร้�ผู้่านการเล่นผู้่านการที่ำากิจกรรมีติ่าง ๆ ที่่�ได�ลงมี่อปัฏิิบััติิจริงโดยใช�ปัระสัาที่สััมีผู้ัสัที่ั�ง 5 เพ่�อเปั็นการเติร่ยมีความี
พร�อมีไปัสั้่ช่วงวัยปัระถึมีศัึกษัามีากกว่าการเร่งเร่ยนอ่านเข่ยน ที่ักษัะการช่วยเหล่อตินเองในช่วิติปัระจำาวันเปั็นที่ักษัะ
หนึ�งที่่�เด็กปัฐมีวัย ควรจะได�รับัการฝึึกฝึน เน่�องจากการที่่�เด็กสัามีารถึช่วยเหล่อตินเองได�ด่ จะเปั็นสัิ�งสัะที่�อนให�เห็นถึึง
พัฒนาการที่่�ด่และเด็กจะเกิดความีภาคภ้มีิใจในตินเอง จากที่ฤษัฎิ่การพัฒนาที่างจิติวิที่ยาของแอริคสััน (Psychosocial
Development: Erikson) กล่าวถึึงเด็กปัฐมีวัยไว�ว่าเปั็นช่วงวัยของการเปั็นติัวของตินเอง ติ�องการความีเปั็นอิสัระ หาก
เปัิดโอกาสัให�เด็กได�ช่วยเหล่อตินเอง เด็กจะร้�สัึกภ้มีิใจและมี่ความีเช่�อมีั�นในความีสัามีารถึของตินเองที่่�ที่ำาสัิ�งติ่าง ๆ สัำาเร็จ
(Cherry, Kendra. “Understanding Erikson’s Stages of Psychosocial Development.” Verywell Mind, Verywell
Mind, 18 July 2021.)
ซึ่ึ�งที่ักษัะการช่วยเหล่อตินเองนั�นนอกจากจะช่วยที่ำาให�เด็กร้�สัึกภาคภ้มีิใจและมี่ความีเช่�อมีั�นในความีสัามีารถึของ
ตินเอง อันจะนำาไปัสั้่การพึ�งพาตินเองในอนาคติแล�วนั�น ยังช่วยที่ำาให�พัฒนาการด�านติ่างๆด่ขึ�น โดยเฉพาะพัฒนาการด�าน
กล�ามีเน่�อมีัดเล็กให�แข็งแรง โดยในการฝึึกควรฝึึกให�เด็กได�ที่ำากิจวัติรปัระจำาวันติ่างๆ เช่น การรับัปัระที่านอาหารเอง ใสั่
กระดุมีเอง ยกแก�วด่�มีนมีเอง ด่�มีนำ�าเอง เปั็นติ�น
จากการสัอบัถึามีผู้้�ปักครองที่่�พาบัุติรหลานมีารับับัริการในศั้นย์เด็กพิเศัษัรวมีถึึงสัอบัถึามีบัุคลากรที่่�ที่ำางานกับั
เด็กในศั้นย์เด็กพิเศัษั พบัว่า ผู้้�เล่�ยงด้และบัุคลาการสั่วนใหญ่มี่ความีติ�องการที่่�จะฝึึกให�เด็กสัามีารถึที่ำากิจวัติรปัระจำาวัน
ได�ด�วยติัวเอง ได�แก่ การที่านอาหาร การเข�าห�องนำ�า และการแติ่งกาย เปั็นติ�น แติ่ก็พบัว่าสัิ�งที่่�ฝึึกได�ค่อนข�างยากและใช�
เวลานาน ค่อการฝึึกให�เด็กจับัช�อนและสั�อมีในการที่านอาหารให�ถึ้กวิธุ์่ หร่อหากฝึึกได�ก็จะใช�ระยะเวลานาน ซึ่ึ�งอาจสั่งผู้ลก
ระที่บัติ่อช่วงเวลาในการฝึึกที่ักษัะด�านอ่�นๆ เน่�องจากเด็กสั่วนใหญ่จะใช�วิธุ์่การจับัช�อนและสั�อมีด�วยการกำาช�อนและสั�อมี
แบับัลักษัณ์ะกำาแบับัควำ�าและแบับัหงายติามีแติ่เด็กสัะดวก และจากการสัำารวจข�อมี้ลจาก สัำานักงานกองทีุ่นสันับัสันุนการ
สัร�างเสัริมีสัุขภาพ พบัว่า เด็กควรจะเริ�มีหัดใช�ช�อนกินอาหารได�ติั�งแติ่ อายุ 12 – 20 เด่อน เพ่�อเร่ยนร้�ที่ักษัะในการกินอาหาร
เอง ซึ่ึ�งเปั็นขั�นติอนสัำาคัญที่่�จะนำาไปัสั้่การที่ำาอะไรได�เอง (self-help) และไมี่ติ�องรอให�คนอ่�นช่วย ( self –reliance ) เด็ก
สั่วนใหญ่ควรจะใช�ช�อนและสั�อมีในการที่านอาหารได�เองเมี่�ออายุ 2-4 ขวบั (สัำานักงานกองทีุ่นสันับัสันุนการสัร�างเสัริมีสัุข
ภาพ,2552,ค้่มี่ออาหารติามีวัยสัำาหรับัที่ารกและเด็กเล็ก) ที่ั�งน่� ที่างที่่มีจึงได�ออกแบับั เคร่�องมี่อ Easy Grips spoon &
Fork เพ่�อสั่งเสัริมีด�านการช่วยเหล่อตินเอง ซึ่ึ�งเปั็นเคร่�องมี่อที่่�ช่วยพัฒนาที่ักษัะการช่วยเหล่อตินเองในการใช�ช�อนและ
สั�อมีรับัปัระที่านอาหารให�ถึ้กวิธุ์่ การพัฒนาเคร่�องมี่อในครั�งน่�จะช่วยสั่งเสัริมีพัฒนาการด�านกล�ามีเน่�อมีัดเล็กและให�เด็ก
ได�ช่วยเหล่อตินเอง จนเกิดความีเช่�อมีั�นในความีสัามีารถึของตินเอง และเพ่�อเปั็นปัระโยชน์ในการสั่งเสัริมีพัฒนาการเด็ก
ด�านอ่�นๆติ่อไปั
3. วััตถุุประส่งคั์/ เป้าหมายุโคัรงการ (Objective)
1. เพ่�อพัฒนาที่ักษัะการช่วยเหล่อตินเองด�านการรับัปัระที่านอาหารด�วยการใช�ช�อนและสั�อมีให�ถึ้กวิธุ์่
2. เพ่�อให�เด็กที่่�ได�รับัการฝึึกโดยการใช�เคร่�องมี่อ Easy Grips spoon & Fork ได�รับัคะแนนปัระเมีิน Individual
Implementation Plan : IIP สั้งขึ�นกว่าคะแนนปัระเมีินก่อนการฝึึก
3. เพ่�อลดระยะเวลาในการฝึึกใช�ช�อนและสั�อมีในการรับัปัระที่านอาหารของเด็ก
4. การศึึกษาข�อมูลั/เอกส่ารที�เกี�ยุวัข�อง (Literature review)
ผู้้�วิจัยได�ศัึกษัาแนวคิดที่ฤษัฎิ่เก่�ยวกับัการคิดของจอห์น ดิวอ่� (John Dewey อ�างถึึงใน อัครพงษั์ สััจจวาที่ิติ, 2547,
น. 71-80) ที่่�ให�ความีสัำาคัญของการคิดว่าเปั็นวิธุ์่การเร่ยนร้�ที่างสัติิปััญญา (Thinking is the method of intelligent
learning) ที่่�เกิดจากความีติ่อเน่�องของปัระสับัการณ์์และการมี่ปัฏิิสััมีพันธุ์์กับัสัิ�งแวดล�อมี เมี่�อผู้้�เร่ยนได�เร่ยนร้�สัิ�งติ่าง ๆ
จากการลงมี่อปัฏิิบััติิกิจกรรมีโดยใช�ปัระสัาที่สััมีผู้ัสัที่ั�งห�าผู้่านกระบัวนการคิด มี่ผู้ลที่ำาให�เกิดปัระสับัการณ์์ในการเร่ยนร้�
262 2024 BEST PRACTICE INNOVATION PROJECTS