Page 67 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 67

เชิงอรรถบทที่ 2
                       1
                          สมเด็จฯกรมพระยาด ารงราชานุภาพ, เอกสารตรวจราชการเมือง
              นครไชยศรี, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ:  กรมศิลปากร, 2511. พิมพ์เป็นอนุสรณ์ใน
              งานฌาปนกิจศพ หม่อมล าดวน ดิศกุล ณ อยุธยา ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส
              วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม 2511), 26.
                       2
                         ผาสุข อินทราวุธ, “เครื่องรางของพ่อค้า,” ใน ปัจจุบันของโบราณคดี
              ไทย (กรุงเทพฯ:  มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2528),  50–57.  และดูบทความอื่นของ
              ผู้แต่งท่านเดียวกันนี้ใน “ตราดินเผารูปคช-ลักษมีและกุเวรจากเมืองนครปฐม
              โบราณ,” เมืองโบราณ 9,3 (สิงหาคม-พฤศจิกายน 2526): 92-101.
                       3
                         ธิดา สาระยา, (ศรี)ทวารวดี: ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ
              (กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2532), บทที่ 3.
                       4
                         ดูข้อสันนิษฐานเรื่อง “จินหลิน” และ “เมืองอู่ทอง” ได้ในบทที่ 3
                       5
                         ธิดา สาระยา, “การก่อตัวของรัฐในลุ่มน ้าท่าจีน-แม่กลอง: พัฒนาการ
              ทางประวัติศาสตร์ของเมืองนครปฐม ศึกษาจากหลักฐานทางโบราณคดี,”
              เมืองโบราณ 14, 1 (มกราคม–มีนาคม 2531): 83–92.
                       6
                          แนวคิดทฤษฎีของนักวิชาการที่มีผลต่องานเขียนของธิดา สาระยา
              ได้แก่ งานของเคนเนธ ฮอล (Kenneth  R.Hall)  และเบนเบท บรอนสัน (Bennet
              Bronson) ซึ่งให้ความส าคัญกับปัจจัยด้านการค้า (ทั้งการค้าระหว่างชุมชนชายฝั่ง
              ทะเลกับชุมชนตอนใน และการค้าข้ามภูมิภาค) ที่กระตุ้นให้เกิดกระบวนการสร้าง
              รัฐขึ้น ดูเพิ่มเติมใน  Bennet  Bronson,  “Exchange  at  the  Upstream  and
              Downstream Ends: Notes Towards a Functional Model of the Coastal State
              in  Southeast  Asia,”  in  Economic  Exchange  and  Social  Interaction  in
              Southeast Asia: Perspective from Prehistory, History, and Ethnography, ed.
              Karl  L.  Hutterer  (Ann  Arbor  Michigan:  Center  for  South  and  Southeast
              Asian Studies, University of Michigan, 1977).
                       7
                         ธิดา สาระยา, (ศรี)ทวารวดี: ประวัติศาสตร์ยุคต้นของสยามประเทศ,
              200.



                                          56
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72