Page 53 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 53

ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ 50
                                                                                                     บทที่ 4

                                                                                     ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



                2. ความพิการทางการไดยินหรือสื่อความหมาย

                          2.1 หูหนวก หมายถึงการที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือ

                การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยินจน

                ไมสามารถรับขอมูลผานทางการไดยินเมื่อตรวจการไดยินโดยใชคลื่นความถี่ที่ 500 เฮิรตซ

                1,000 เฮิรตซและ 2,000 เฮิรตซในหูขางที่ไดยินดีกวาจะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียง

                90 เดซิเบลขึ้นไป

                          2.2 หูตึง หมายถึงการที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือ

                การเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรองในการไดยิน

                เมื่อตรวจวัดการไดยินโดยใชคลื่นความถี่ที่ 500 เฮิรตซ 1,000 เฮิรตซและ 2,000 เฮิรตซ ในหูขางที่

                ไดยินดีกวาจะสูญเสียการไดยินที่ความดังของเสียงนอยกวา 90 เดซิเบลลงมาจนถึง 40 เดซิเบล

                          2.3 ความพิการทางการสื่อความหมาย หมายถึงการที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติ

                กิจกรรมในชีวิตประจำวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมี

                ความบกพรองทางการสื่อความหมายเชนพูดไมไดพูดหรือฟงแลวผูอื่นไมเขาใจเปนตน




                       3. ความพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางรางกาย

                          3.1 ความพิการทางการเคลื่อนไหว หมายถึงการที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรม

                ในชีวิตประจำวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง

                หรือการสูญเสียความสามารถของอวัยวะในการเคลื่อนไหวไดแกมือเทาแขนขาอาจมาจากสาเหตุ

                อัมพาตแขนขาออนแรงแขนขาขาดหรือภาวะเจ็บปวยเรื้อรังจนมีผลกระทบตอการใชงานมือเทาแขนขา

                          3.2  ความพิการทางรางกาย หมายถึงการที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมใน

                ชีวิตประจำวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมีความบกพรอง

                หรือความผิดปกติของศีรษะใบหนาลำตัวและภาพลักษณภายนอกของรางกายที่เห็นไดอยางชัดเจน



                       4. ความพิการทางจิตใจหรือพฤติกรรม หมายถึง การที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรม

                ในชีวิตประจำวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากความบกพรอง

                หรือความผิดปกติทางจิตใจหรือสมองในสวนของการรับรูอารมณหรือความคิด
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58