Page 54 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 54

51      บทที่ 4
                ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ
                ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



              5. ความพิการทางสติปญญา หมายถึงบุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

       หรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากการมีพัฒนาการชากวาปกติหรือ
                                            
                             
       มีระดับเชาวปญญาตำกวา 70 ซึ่งตำกวาระดับสติบัญญาของบุคคลทั่วไป โดยความผิดปกตินั้น
       แสดงกอนอายุ 18 ป




              6. ความพิการทางการเรียนรู หมายถึง บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน

       หรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมโดยเฉพาะดานการเรียนรูซึ่งเปนผลมาจากความบกพรอง

       ทางสมองทำใหเกิดความบกพรองในดานการอานการเขียนการคิดคำนวณ หรือกระบวนการเรียนรู
                                            
       พื้นฐานอื่นในระดับความสามารถที่ตำกวาเกณฑมาตรฐานตามชวงอายุและระดับสติปญญา




              7. ความพิการทางออทิสติก หมายถึง การที่บุคคลมีขอจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต

       ประจำวันหรือการเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมซึ่งเปนผลมาจากความบกพรองทางพัฒนา

       การดานสังคมภาษาและการสื่อความหมายพฤติกรรมและอารมณโดยมีสาเหตุมาจากความผิดปกติ

       ของสมอง และความผิดปกตินั้นแสดงกอนอายุ 2 ปครึ่ง ทั้งนี้ใหรวมถึงการวินิจฉัยกลุมออทิสติก

       สเปกตรัมอื่น ๆ เชนแอสเปอเกอร (Asperger)



                 เมื่อความพิการที่เกิดขึ้นในครอบครัว เปนภาวะวิกฤตที่ตองไดรับความสนใจ ในครอบครัว

       จะมีปฏิกิริยาตอความพิการ และมีการปรับตัว เพื่อมีวิธีการจัดการสิ่งที่ครอบครัวกำลังวิตกกังวล

       ใหสามารถผานภาวะนี้ไปได และมีการตอบสนองตอความตองการจำเปนของคนพิการที่อยูในครอบครัว

       ตามที่ครอบครัวคิดวาเหมาะสม (อาดัม นีละไพจิตร และอรอนงค สงเจริญ, 2563) ดังนั้นในเขาสูสังคม

       ของคนพิการ หากไดใหความสำคัญในเรื่องกระบวนการปรับตัวตอความพิการจะทำใหเขาใจการกลับ

       สูสังคมมากขึ้น



              คูเบลอร-รอสส ( Kubler-Ross) ไดอธิบายขั้นตอนการปรับตัวตอความสูญเสียเปน 5 ขั้นตอน

       คือ ขั้นการปฏิเสธความจริง ขั้นโกรธ ขั้นตอรอง ขั้นซึมเศราและขั้นยอมรับ ซึ่งรูปแบบนี้ถูกใชในการ

       ทำความเขาใจและอธิบายปฏิกิริยาทางจิตใจของผูสูญเสียโดยเฉพาะอยางยิ่งกับความพิการ
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59