Page 59 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 59

ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ 56
                                                                                                     บทที่ 4

                                                                                     ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



                            มาตรการการสงเสริมอาชีพและมีงานทำของคนพิการที่กลาวมาขางตน เปนการสงเสริม

                ใหคนพิการทำงานในระบบหรือสถานประกอบการเปนหลัก ในปจจุบันมีการสงเสริมใหคนพิการ

                ประกอบอาชีพอิสระของตนเองดวยการใหคนพิการไดรับการฝกอาชีพ รวมทั้งมีกองทุนกูยืม

                ในการประกอบอาชีพ กลาวคือกรณีเริ่มตนการประกอบอาชีพ จำเปนตองมีเงินทุนในการเริ่ม

                ประกอบอาชีพ ดังนั้นภาครัฐไดมีการบริการใหคนพิการและผูดูแลคนพิการมีสิทธิกูยืมเงินเพื่อเปนทุน

                ประกอบอาชีพหรือขยายกิจการ รายละไมเกิน 40,000 บาท รายกลุม กลุมละไมเกิน 1 ลานบาท

                ผอนชำระภายในระยะเวลาไมเกิน 5 ป โดยไมคิดดอกเบี้ย เพื่อนำไปลงทุนประกอบอาชีพและยังชวย

                ในการลดปญหาการวางงาน ตามระเบียบคณะกรรมการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

                แหงชาติวาดวย การพิจารณาอนุมัติการจายเงินเพื่อการสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

                และการจัดทำรายงานสถานะการเงินและการบริหารกองทุนสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

                พ.ศ. 2552 หมวด 2 การกูยืมเงิน ซึ่งสามารถไดรับการสนับสนุนจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น

                ในการประกอบอาชีพ (พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจใหแกองคกร

                ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16) “เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนตำบลมีอำนาจ

                และหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่น (6)

                การสงเสริม การฝก และการประกอบอาชีพ” ซึ่งเปนการกระจายอำนาจการดูแลใหกับทองถิ่น

                เพื่อใหมีการดูแลไดอยางทั่วถึง

                            จากนโยบายดังกลาวเปนสิ่งที่ขับเคลื่อนใหเกิดการจางงานคนพิการ แตในขณะเดียวกัน

                การขับเคลื่อนเพื่อนำไปสูการเปลี่ยนแปลงทัศนคติเพื่อการจางงาน การประกอบอาชีพของคนพิการ

                จำเปนตองสรางความเขาใจเพื่อใหเกิดการยอมรับ และนำไปสูการปรับเปลี่ยนใหสามารถตัดสินใจ

                เลือกอาชีพที่เหมาะสม และเกิดการตระหนักในหนาที่และความรับผิดชอบในอาชีพ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64