Page 63 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 63

ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ 60
                                                                                                     บทที่ 4

                                                                                     ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



                                 3. กระบวนการจัดปรับและประเมินความถนัดที่เหมาะสมกับงาน (Job

                matching) เปนการเชื่อมโยงและเติมเต็มชองวางระหวางความตองการของนายจางที่ตองการ
                จางงานคนพิการ และความตองการของคนพิการในการมีงานทํา





                            กระบวนการจัดปรับและประเมินความถนัดที่เหมาะสมกับงาน (Job matching) คือ
                     กระบวนการที่เปนการเชื่อมโยงทักษะความสามารถคนพิการและลักษณะงานที่ เหมาะสม

                     โดยรอยละ 50 ของความสําเร็จในการสนับสนุนการทํางานจะถูกกําหนดในขั้นตอนของการ จับคู
                     (Matching) ควรพิจารณาประเด็นที่มีความสอดคลองกัน ดังนี้
                                  1) ความสามารถและลักษณะของคนพิการ ไดแก บุคลิกภาพ ความเขาใจ ความ
                     สนใจ การสื่อสาร ความละเอียดละออ การออกแบบชีวิต ความแข็งแรงทางจิตใจ

                                  2) ความสามารถที่จําเปนของการทํางานในสถานประกอบการ ไดแก สภาพแวดลอม
                     ของมนุษย ความเขาใจ สภาพแวดลอมทางกายภาพ การสื่อสาร เงื่อนไขการทํางาน ความละเอียดละออ
                     วัฒนธรรม บรรยากาศ




                                 4. กระบวนการติดตามและประเมินผลการทํางาน (Follow-up) การติดตาม

                และการประเมินผลการทํางาน เปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่งในการควบคุมผลงาน (Controlling) โดย

                หัวหนางานจะตองวางแผน การติดตามความคืบหนาใหมีการดําเนินงานตามแผน หรือแนวปฏิบัติ
                ที่กําหนดไวในแตละชวงเวลา รวมทั้งการรายงานปญหาอุปสรรคในเวลาที่เหมาะสม เพื่อใหสามารถ

                ปรับปรุงพัฒนาหรือขจัดอุปสรรคในการดําเนินงานตามแผนไดทันทวงที  แผนการติดตาม (Follow up)

                จะติดตามผลการทํางานของคนพิการจากผูที่เกี่ยวของใน 3 สวน คือ




                  1) ติดตามผลการ ประเมินผลงานจากองคกร



                  2) ติดตามผลการดําเนินงานจากคนพิการ
                                                                        จากขอมูลขางตนพบวาแนวทางขางตนสามารถ
                  3) ติดตามความสัมพันธและสถานภาพ                     นำมาใชในการชวยเหลือและฝกอบรมสถานประกอบการ
                      ความเปนอยูของครอบครัว                         ไดเนื่องจาก มีการเตรียมความพรอมคนพิการเขาสู
                                                                      การทำงานจนภายหลังการทำงานผานการประสานงาน
                  โดยมี แนวทางในการติดตามดังนี้                       เชื่อมโยงโดยบุคคลที่มีความเชี่ยวชาญในดานการ
                    การเขาเยี่ยมสภาพความเปนอยูที่บานของ           จางงาน มีการทำงานกับคนพิการและนายจางตั้งแต
                    คนพิการและบริษัทที่คนพิการทํางานอยู              กระบวนการแรก มีการประเมิน การฝกอบรม การจัดหา
                    การวางแผนสรางโอกาสใหกลุมคนพิการหร ือ           ตำแหนงงานที่เหมาะสม การสนับสนุนภายหลัง
                    จัดกิจกรรมที่สรางความมีสวนรวมระหวาง
                    คนพิการและองคกร                                  การจางงาน เชน การทำสัญญา การจัดสิ่งอำนวย
                    การประสานงานติดตามผลการทํางาน                     ความสะดวก เปนตน ทำใหคนพิการ นายจาง และ
                    ทางโทรศัพท                                       เพื่อนรวมงาน สามารถปรับตัวและทำงานรวมกันได
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68