Page 68 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 68

65      บทที่ 4
                ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ
                ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



       4.6  มุมมองจิตวิทยาเชิงบวก

                      Strengths-Based work inclusion (ภิญโญ  รัตนาพันธุ)

               Appreciative Inquiry เปนศาสตรพัฒนาองคกรประเภทหนึ่ง คิดคนมาชวงทศวรรคที่ 80
       ซึ่งเกิดจากคนพบวา สมองมนุษยมีแนวโนมจะคุยเรื่องราย มากกวาคุยเรื่องดี โดยเขาไปศึกษา

       ในโรงพยาบาลแหงหนึ่งในคลีฟแลนด เพื่อพัฒนาภาวะผูนำ โดยมีการตั้งคำถามวา “ที่นี่มีปญหา

       อะไรเกี่ยวกับผูนำ” ซึ่งทำใหบุคลากรเกิดความไมพอใจ ตอมาไดตั้งคำถามใหมเปน “ที่นี่มีดีอะไรบาง”

       ทำใหเห็นจุดแข็ง เห็นโอกาส และเอาจุดแข็งมาพัฒนาตอได จึงนำมาสูการการใชวิธีการเชิงบวก
       ในการแกปญหา คือเริ่มคนหาเรื่องดีกอน เมื่อพบเจอเรื่องดีแลว จะทำใหคนเกิดความฝน เกิด Vision

       จึงเปนที่มาของการเกิดวิชาใหมในโลกของศาสตรพัฒนาองคกร ที่เรียกวา Appreciative Inquiry

                                             จิตวิทยาเชิงบวก ไมไดหมายถึงการคิดบวก จากการวิจัยพบวา

                                     การคิดบวก เปนการคิดเอาเอง แตจิตวิทยาเชิงบวก เกิดจากการคนพบวา
                                     ปรากฏการณเชิงบวกมีความสำคัญ อารมณบวก จะทำใหเกิดความสนใจ

                                     เมื่อมีอารมณบวก จะเกิดภาวะการขยายพลังสมอง ทำใหเกิดการกระตุน

                                     ความไขวรู สุขภาพ และเครือขายสังคม เกิดการเปลี่ยนแปลงอยางอื่น

                                     ตามมาไมสิ้นสุด
                                             Appreciative Inquiry จะพยายามคนหาสิ่งที่มี เริ่มวิเคราะห
          ภาพที่ 35 ว�ทยากรผูŒเชี่ยวชาญ
           ดŒาน Appreciative Inquiry  จากวา เรามีอะไรบางตอนนี้ เรามีทักษะอะไร มีความภูมิใจอะไร เราถนัดอะไร









































                                        ภาพที่ 36 แนวคิดของ Appreciative Inquiry
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73