Page 66 - การส่งเสริมการจ้างงานคนพิการผ่านกลไกการมีส่วนร่วมทางสังคม
P. 66

63      บทที่ 4
                ความรูŒหร�อความเชี่ยวชาญ
                ที่ใชŒในการทําใหŒเกิดการเปลี่ยนแปลง



              ในทัศนะของ John Holland (1996, อางถึงนวลศิริ เปาโรหิตย 2541) บุคคลจะเลือก

       อาชีพใดมักขึ้นอยูกับบุคลิกภาพรวมทั้งตัวแปรจากสิ่งแวดลอม Holland เชื่อวา การเลือกอาชีพ
       สะทอนลักษณะทางบุคลิกภาพของบุคคล นอกจากนี้ รูปแบบทางบุคลิกของบุคคลมักแสดงออกทาง

       การทำงานของบุคคลดวย ดังนั้น การที่บุคคลมองตนเองเชนไรและมองโลกของอาชีพวาเปนอยางไร

       จึงเปนสาเหตุทำใหบุคคลเลือกอาชีพนั้นดวย



              ความทฤษฎีของ Holland นั้น ไดจัดแบงคนออกเปน 6 กลุมอาชีพ โดยอาศัยบุคลิกภาพ

       ซึ่งแตละกลุมจะมีลักษณะทางบุคลิกภาพตางกันไป หากบุคคลใดเลือกอาชีพไดเหมาะกับบุคลิกภาพ

       บุคคลนั้นก็จะเปนบุคคลที่มีความสุขในอาชีพ โดยบุคคลทุกคนสามารถจัดเขาอยูในกลุมบุคลิกภาพ

       ชนิดใดชนิดหนึ่งในหกไดทุกคน ดังนี้



         กลุม Realistic (R) บุคคลนี้จะมีความสนใจเปนพิเศษกับงานที่ใช  กลุม Investigative (I) กลุมนี้ไดแก นักวิทยาศาสตร ผูที่จบทาง
         กำลังกาย หรือ อาจเปนงานที่ตองทำกับวัตถุมากกวาบุคคล เปน  วิทยาศาสตรแขนงตาง ๆ หรือที่ทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร
         งานรูปธรรมมากกวางานที่เปนนามธรรม อาชีพที่นาจะอยูในกลุมนี้   ลักษณะทางดานบุคลิกภาพมักเปนผูที่ชอบแสวงหาความรู นักวิชาการ
         คือ อาชีพชาง กรรมกร วิศวกร ประมง ปาไม เกษตรกร หรือนักกีฬา  ชอบทำงานอิสระ ไมชอบอยูภายใตควบคุมใคร ชอบความมีเหตุผล
         ประเภทตางๆ ลักษณะบุคลิกภาพกลุมนี้ไดแก เงียบขรึม ไมใคร  ไมเชื่ออะไรงาย ๆ บางครั้งอาจถููกมองวาคอนขางหัวรุนแรงและ
         ชอบสังสรรค คอนขางจะอนุรักษนิยม บางครั้งอาจดูกาวราว และ  มุงงาน
         ไมใครสนใจดานมนุษยสัมพันธ



         กลุม Conventional (C) อาชีพที่เดนชัดไดแก อาชีพที่ตองการ  กลุม Artistic (A) กลุมศิลปนทุกแขนง ตั้งแตนักแสดง นักรอง
         ความละเอียดในงานที่ตองทำประจำ เชน งานเลขานุการ เสมียน   ดารา ชางศิลป นายแบบ จนถึงครูสอนงานศิลปะ ลักษณะทาง
         ผูจดบันทึกรายการปอนขอมูลใหคอมพิวเตอร ฝายประชาสัมพันธ   บุคลิกภาพที่เดนก็คือ การเปนผูที่มีความคิดอิสระ มีจินตนาการสูง
         หรือ บรรณารักษ เปนตน บุคลิกภาพของกลุมนี้ คือเปนพวกที่ชอบ  อารมณออนไหวไดงาย กลาแสดงออก ไมชอบทำงานที่มีโครงสราง
         ทำงานประจำ มีโครงสรางที่แนนอน ทำตามรูปแบบเดิมที่เคยทำ  หรือที่ตองคิดอยูกับกรอบและคอนขางจะเปดเผย
         กันมา คอนขางอนุรักษนิยม ไมชอบความคิดโลดโผน ทำตาม
         กฎระเบียบที่สังคมกำหนดไวแลว


         กลุม Enterprise (E) กลุมนี้ไดแก ผูประกอบอาชีพประเภทธุรกิจ   กลุม Social (S) จัดกลุมที่ชอบทำงานใหกับสังคม อาจเปนครู
         ทำงานฝายขายหรือฝายบุคคล ขายประกัน ทนายความ นักการเมือง   อาจารย นักสังคมสงเคราะห นักกายภาพบำบัด พยาบาล ผูใหคำ
         เปนตน บุคลิกภาพที่เดนชัดคือ กลาแสดงออก คอนขางจะกาวราว   ปรึกษา หรืองานบริการทุกรูปแบบ ลักษณะเดนทางบุคลิกภาพก็คือ
         ชอบความเสี่ยง อยากเปนผูนำ ชอบการปกครองหรือควบคุมผูอื่น   ชอบอยูกับคนอื่น มนุษยสัมพันธดี สนใจชวยเหลือผูอื่นหรือทำงาน
         มีทักษะในการพูดโนมนาวจิตใจผูอื่นไดดี           กับชุมชนในลักษณะตาง ๆ เชน ในองคกรที่ไมหวังผลประโยชน
                                                            ตอบแทน เปนตน



       Holland ใชรูปหกเหลี่ยม แสดงถึงแนวคิดดานอาชีพดังกลาวขางตน  Realistic  R   I Investigativ
       โดยใหแตละดานเปนสวนบุคลิกภาพแตละประเภท และกลุมอาชีพแตละ
       กลุมจะอยูในสวนของบุคลิกตรงกัน หากบุคคลใดมีบุคลิกภาพไมสอดคลอง
                                                            Conventional  C              A  Artistic
       กับลักษณะของอาชีพ เขาก็จะประสบปญหาในการเลือกอาชีพ (ผองพรรณ
       เกิดพิทักษ, 2529) ภาพที่ 33 และจากแนวคิดนี้เองจึงไดสรางเครื่องมือ
       วัดลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลขึ้นสองแบบ คือ แบบทดสอบ VPI      Enterprise   E     S Social
       (Vocational Preference Inventory) และแบบทดสอบ SDS (Self
                                                                    ภาพที่ 33 แบบจําลองหกเหลี่ยมของ Holland
       Directed Search)                                                 (Holland’s hexagonal model)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71