Page 32 - แนวทางการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการในสาขาพยาบาลศาสตร์
P. 32
ส่วน หัวข้อ
ส่วนที่ 2 ผลงานที่เป็นผลการปฏิบัติงาน มี 11 หัวข้อ ดังนี้
หรือผลส�าเร็จของงาน 1. ชื่อเรื่อง
2. ระยะเวลาการด�าเนินการ
3. ความรู้ ความช�านาญงาน หรือความเชี่ยวชาญและประสบการณ์
ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
4. สรุปสาระส�าคัญ ขั้นตอนการด�าเนินการ และเป้าหมายของงาน
5. ผลส�าเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ)
6. การน�าไปใช้ประโยชน์/ผลกระทบ
7. ความยุ่งยากซับซ้อนในการด�าเนินการ
8. ปัญหาอุปสรรคในการด�าเนินการ
9. ข้อเสนอแนะ
10. การเผยแพร่ผลงาน (เฉพาะขอประเมินระดับช�านาญการพิเศษ)
11. ผู้มีส่วนร่วมในผลงาน (ถ้ามี) หากผู้ประเมินด�าเนินการเพียงผู้เดียว
ให้ระบุชื่อและสัดส่วนผลงาน 100%
2.2.2 ผลงานวิชาการ
ผลงานวิชาการเพื่อขอประเมินในต�าแหน่งพยาบาลวิชาชีพระดับระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ
ควรเป็นผลงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความรู้ความสามารถ และความช�านาญในงานของต�าแหน่งที่ขอประเมิน
รวมทั้งสามารถระบุผลส�าเร็จของงานหรือประโยชน์ที่เกิดจากงานนั้น หรือการน�าไปใช้ หรือผลงานการให้บริการ
ทางวิชาการ/ปฏิบัติการ ผลงานนวัตกรรม หรือ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ เป็นต้น โดยมิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงาน
ย้อนหลัง
โดยเงื่อนไขของผลงานวิชาการที่น�ามาขอประเมิน ดังนี้
(1) เป็นผลงานเรื่องเดียวกันกับเรื่องที่เสนอในขั้นตอนการประเมินบุคคล
(2) เป็นผลงานที่จัดท�าขึ้นในระหว่างที่ด�ารงต�าแหน่งในระดับที่ต�่ากว่าระดับที่ขอประเมิน 1 ระดับ และ
เป็นผลงานที่ด�าเนินงานแล้วเสร็จไม่เกิน 5 ปี (นับถึงวันที่จัดท�าเล่มผลงานแล้วเสร็จ)
(3) ไม่ใช่ผลงานวิจัย หรือวิทยานิพนธ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อขอรับปริญญา หรือ
ประกาศนียบัตร หรือเป็นส่วนหนึ่งของการฝึกอบรมของผู้ขอประเมิน
แนวทางการจัดท�าผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการ ในสาขาพยาบาลศาสตร์
23
ส�าหรับพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข