Page 33 - แนวทางการจัดทำผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการในสาขาพยาบาลศาสตร์
P. 33

กรณีผลงานที่เสนอเพื่อขอรับการประเมินจัดท�าขึ้นในช่วงระยะเวลาเดียวกับที่ศึกษาหรือฝึกอบรม

             ผลงานนั้นต้องได้รับค�ารับรองจากสถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่จัดการฝึกอบรมว่าไม่เป็นส่วนหนึ่งของการ
             ศึกษาในรายวิชา หรือในหลักสูตรของการศึกษา หรือฝึกอบรม แล้วแต่กรณี

                      (4)  กรณีที่เป็นผลงานร่วมกันของบุคคลหลายคน ผู้ขอประเมินจะต้องแสดงให้เห็นว่าได้มีส่วนร่วมใน
             การจัดท�าผลงานในส่วนใด สัดส่วนเท่าใด อย่างไร โดยมีค�ารับรองจากผู้มีส่วนร่วมในผลงาน และผู้บังคับบัญชาด้วย

                      (5)  ผลงานส่วนใดที่น�ามาใช้ประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการในระดับใด เพื่อ
             ขอรับเงินประจ�าต�าแหน่ง หรือเพื่อขอรับเงินเพิ่มส�าหรับต�าแหน่งที่มีเหตุพิเศษแล้ว จะน�าผลงานส่วนนั้นมาใช้

             เสนอประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งในระดับที่สูงขึ้นอีกไม่ได้ เว้นแต่คณะกรรมการประเมินผลงาน
             จะก�าหนดเป็นอย่างอื่น

                        ทั้งนี้ ผลงานข้างต้นจะต้องมีค�ารับรองจากผู้บังคับบัญชาอย่างน้อยสองระดับ คือผู้บังคับบัญชา
             ที่ก�ากับดูแล และผู้บังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไปอีกหนึ่งระดับ เว้นแต่ในกรณีที่ผู้บังคับบัญชาดังกล่าวเป็นบุคคลคน

             เดียวกัน ก็ให้มีค�ารับรองหนึ่งระดับได้
                        ผู้ขอประเมินผลงานวิชาการ ต้องศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะของผลงานวิชาการ จ�านวนผลงานที่จะน�า

             มาประเมิน และการเผยแพร่ผลงาน (เฉพาะระดับช�านาญการพิเศษ) ตามรายละเอียด ดังนี้
                      1)  ลักษณะของผลงานวิชาการ ที่จะน�ามาประเมินของสายงานพยาบาลวิชาชีพ จะมีความแตกต่างกัน

             ออกไปของแต่ละระดับที่จะแต่งตั้งไปด�ารงต�าแหน่ง รายละเอียด ดังแสดงในตารางที่ 2-3



             ตารางที่ 2-3 ลักษณะของผลงานวิชาการ ที่จะน�ามาประเมินในระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ


                   ประเภทวิชาการ ระดับ                              ผลงานวิชาการ

                        ช�านาญการ            ลักษณะผลงานวิชาการที่จะน�ามาประเมิน ควรเป็นการน�าเสนอในรูป
                                             แบบการสรุปวิเคราะห์ถึงผลที่เกิดขึ้น  สะท้อนให้เห็นถึง  ความรู้

                                             ความสามารถ ประสบการณ์และความช�านาญงานสูงในงานวิชาการ ปฏิบัติงาน

                                             ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก รวมทั้งสามารถระบุผลส�าเร็จของ
                                             งานหรือประโยชน์ที่เกิดจากงานนั้น หรือการน�าไปใช้ หรือผลงานการให้
                                             บริการทางวิชาการ/ปฏิบัติการ ผลงานนวัตกรรม หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่

                                             เป็นต้น โดยมิใช่เป็นเพียงการรวบรวมผลงานย้อนหลัง โดยพิจารณาตาม

                                             ระดับต�าแหน่งที่จะแต่งตั้ง ได้แก่
                                                  - ต�าแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้างาน/หัวหน้าหอผู้ป่วย/
                                             หัวหน้าทีม ทางการพยาบาล

                                                  -  ต�าแหน่งพยาบาลผู้ปฏิบัติการขั้นสูง/ต�าแหน่งในสายงาน

                                             วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางการพยาบาล/ต�าแหน่งข้าราชการ
                                             ผู้มีผลสัมฤทธิ์สูง






                แนวทางการจัดท�าผลงานวิชาการเพื่อแต่งตั้งให้ด�ารงต�าแหน่งประเภทวิชาการ ในสาขาพยาบาลศาสตร์
         24
                ส�าหรับพยาบาลวิชาชีพ ระดับช�านาญการ/ ช�านาญการพิเศษ ส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38