Page 21 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 21
ค�ำถำมที่ ๑๔
การใช้ ซ -ทร มีข้อสังเกตอย่างไรบ้าง
ตอบค�ำถำมที่ ๑๔
หลักกำรใช้ ซ -ทร มีข้อสังเกต ดังนี้
๑) ค�ำไทยแท้ที่ออกเสียง /s/ ใช้ตัว ซ เช่น ซน ซอง ซับ ซีด
๒) คำาที่มาจากภาษาต่างประเทศใช้ ซ เช่น เซรุ่ม เซลล์ ไซโคลน เซียมซี
๓) คำาที่มาจากภาษาเขมรใช้ ทร เช่น ทรำย ทรำบ ทรวง ทรุดโทรม
๔) ที่มำจำกภำษำสันสกฤต เช่น มัทรี ทรัพย์ อินทรีย์
ค�ำถำมที่ ๑๕
การแบ่งประเภทของคำา กรณีแบ่งตามศักดิ์ของคำา หากอาศัยการใช้ภาษาเป็นเกณฑ์ สามารถแบ่งได้
เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
ตอบค�ำถำมที่ ๑๕
แบ่งได้เป็น ๗ ประเภท ดังนี้
๑. ค�ำรำชำศัพท์ คือ ค�ำที่ใช้เฉพำะกับพระเจ้ำแผ่นดิน พระบรมวงศำนุวงศ์ และพระสงฆ์
เช่น พระบรมรำชโองกำร, ประทับ, รับสั่ง, อำพำธ
๒. ค�ำทำงกำร คือ ค�ำแบบแผนและใช้ในกำรติดต่อทำงรำชกำร เช่น บิดำมำรดำ,
ถึงแก่กรรม, หนังสือรำชกำร
๓. ค�ำสุภำพ คือ ค�ำที่สุภำพชนใช้กับบุคคลทั่วไป โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งใช้กับผู้ที่มีอำวุโส กว่ำ
เช่น รับประทำน, เสมหะ, ศีรษะ
๔. ค�ำทั่วไป คือ ค�ำที่ใช้ได้กับภำษำทุกระดับ เช่น เด็ก, กระดำษ, โรงเรียน
๕. ค�ำล�ำลอง คือ ค�ำที่ใช้ในสถำนกำรณ์ที่ไม่เป็นทำงกำร เช่น ไปที่ชอบ ๆ “ไปสู่สุคติ”,
แฟน “คนรัก, ภรรยำหรือสำมี”, สนำมบิน “ท่ำอำกำศยำน”
๖. ค�ำสแลง คือ ค�ำที่ไม่เป็นทำงกำรที่ใช้เฉพำะกลุ่มเพื่อแสดงควำมรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
เช่น แห้ว “พลำด, อด”, ติงต๊อง “สติไม่สมประกอบ”
๗. ค�ำหยำบ คือ ค�ำที่ไม่สุภำพ เช่น ตีน, ขี้, ตด รวมทั้งค�ำด่ำและค�ำที่สื่อควำมหมำย
เกี่ยวกับเรื่องเพศ และอวัยวะในกำรขับถ่ำย
คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ 15