Page 20 - คู่มือการดำเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 20
ค�ำถำมที่ ๑๓
การประวิสรรชนีย์และไม่ประวิสรรชนีย์ แตกต่างกันอย่างไร
ตอบค�ำถำมที่ ๑๓
ค�ำที่ออกเสียง อะ ในภำษำไทยมีทั้งที่ปรำกฏรูปสระ เรียกว่ำ ประวิสรรชนีย์ และไม่ปรำกฏรูปสระ
ที่เรียกว่ำ ไม่ประวิสรรชนีย์
ค�ำที่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่
๑) ค�ำพยำงค์เดียวที่ออกเสียงสระ อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น จะ นะ กะ คะ
๒) พยำงค์ท้ำยของค�ำ เมื่อออกเสียงสระ อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ศิลปะ ธุระ โลหะ
๓) ค�ำเดิมเป็นสองพยำงค์ ต่อมำเสียงหน้ำกร่อนเป็นเสียง อะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น
หมำกพร้ำว - มะพร้ำว ตำวัน - ตะวัน ฉันนั้น - ฉะนั้น
๔) ค�ำอัพภำสที่กร่อนมำจำกค�ำซ�้ำและมักใช้ในค�ำประพันธ์ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น
ริกริก - ระริก ครื้นครื้น - คะครื้น แย้มแย้ม - ยะแย้ม
๕) ค�ำที่พยำงค์หน้ำออกเสียง กระ ประ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น กระษัย ประกำศ ประจักษ์
๖) ค�ำที่พยำงค์หน้ำออกเสียง ระ ที่มำจำกภำษำเขมร ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ระบ�ำ ระเบียบ
ระลอก
๗) ค�ำที่มำจำกภำษำจีน ญี่ปุ่น ชวำ และอื่น ๆ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น บะหมี่ ประไหมสุหรี
ตะหลิว
ค�ำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ได้แก่
๑) ค�ำที่เป็นพยัญชนะโดด ๆ ออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมกับสระ -ะ เช่น
ณ ที่มีควำมหมำยว่ำ ใน ที่ออกเสียงว่ำ นะ เช่น ณ กำลครั้งหนึ่ง
ธ ที่มีควำมหมำยว่ำ ท่ำน เธอ ออกเสียง ทะ เช่น ธ ประสงค์ใด
ฯพณฯ ที่เป็นค�ำน�ำหน้ำชื่อหรือต�ำแหน่งข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่ ออกเสียง พะ-นะ-ท่ำน
เช่น ฯพณฯ นำยกรัฐมนตรี
๒) ค�ำสองพยำงค์ที่พยำงค์หน้ำกร่อนเสียงเหลือเพียงพยัญชนะต้นประสมกับสระ -ะ บำงค�ำ
เช่น อันหนึ่ง - อนึ่ง ผู้ญำณ - พยำน ท่ำนนำย - ทนำย
๓) ค�ำที่มำจำกภำษำเขมร เช่น ขจี ฉบับ ถนน ผกำ
๔) ค�ำที่แผลงมำจำกค�ำพยำงค์เดียว มีพยำงค์หน้ำออกเสียงพยัญชนะต้นประสมกับสระ -ะ
เช่น เดิม แผลงเป็น เผดิม บวช แผลงเป็น ผนวช เกย แผลงเป็น เขนย
๕) ค�ำภำษำบำลีสันสกฤตที่ออกเสียงพยัญชนะต้นประสมกับสระ -ะ เช่น กนก นภำ อวตำร
๖) ค�ำภำษำบำลีสันสกฤตซึ่งเป็นค�ำสมำสพยำงค์ที่ออกเสียงสระ -ะ เชื่อมระหว่ำงค�ำ
เช่น คณิตศำสตร์ รัตนตรัย อิสรภำพ
๗) ค�ำที่มำจำกภำษำอื่น พยำงค์ที่ออกเสียง อะ ระหว่ำงค�ำ เช่น ชวำ พลำสติก มลำยู
14 คู่มือการดำาเนินงานขับเคลื่อนสู่ความสำาเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕