Page 40 - คู่มือแนวทางการดำเนินงาน NCD Clinic Plus
P. 40
4.3 ส่วนที่ 2 กำรประเมินผลลัพธ์ตัวชี้วัดบริกำร
คะแนน คะแนน คะแนน
รายการ หน่วย เกณฑ์ นำ้าหนัก
1 2 3 4 5 เต็ม ที่ได้
1. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย ร้อยละ ≥70 5 <55 55 60 65 ≥70 25
กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน
2. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ ร้อยละ ≥65 2 <50 50 55 60 ≥65 10
ตรวจไขมัน LDL
3. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการ ร้อยละ ≥55 2 <40 40 45 50 ≥55 10
ตรวจไขมัน LDL และมีค่า LDL
< 100 mg/dl
4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุม ร้อยละ ≥40 4 <25 25 30 35 ≥40 20
ระดับน�้าตาลในเลือดได้ดี
5. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีความดัน ร้อยละ ≥60 4 <45 45 50 55 ≥60 20
โลหิตควบคุมได้ตามเกณฑ์
6. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะ ร้อยละ ≥5 4 <-2.5 -2.5 0 2.5 ≥5 20
อ้วน [BMI ≥25 กก./ตร.ม. ] ลดลง
จากงบประมาณที่ผ่านมา
7. ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ≤2 4 >8 8 6 4 ≤2 20
เฉียบพลัน ในผู้ป่วยเบาหวาน
8 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัย ร้อยละ ≥93 5 <78 78 83 88 ≥93 25
กลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง
9. ร้อยละของผู้ที่มีค่าความดันโลหิต ร้อยละ ≥25 4 <10 10 15 20 ≥25 20
ตัวบนเฉลี่ย (SBP) ≥ 180 มม.ปรอท
และ/หรือ ค่าความดันโลหิต
ตัวล่างเฉลี่ย (DBP) ≥ 110 มม.ปรอท
จากการวัดความดันโลหิตซ�้า
ในโรงพยาบาล และได้รับการวินิจฉัย
โรคความดันโลหิตสูง (ภายใน 7 วัน)
10. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ ร้อยละ ≥60 4 <45 45 50 55 ≥60 20
ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี
11. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน และ/หรือ ร้อยละ ≥80 4 <65 65 70 57 ≥80 20
ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการค้นหา
และคัดกรองโรคไตเรื้อรัง
33 คู่มือแนวทางการด�าเนินงาน N C D Clinic Plus