Page 38 - คู่มือแนวทางการดำเนินงาน NCD Clinic Plus
P. 38

เอกสารประกอบการพิจารณา: เช่น

                      แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมลดเสี่ยงลดโรคในชุมชน เป็นต้น
                    6.2 กำรสนับสนุนแผนงำน โครงกำรกำรด�ำเนินงำนที่เอื้อต่อกำรปรับสภำพแวดล้อม

          ของชุมชน
                      องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนหรือร่วมด�าเนินการกับชุมชนในการจัดท�าแผน
          โครงการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดเสี่ยงลดโรค เช่น จัดสภาพแวดล้อมเรื่องขยะ น�้า ตลาด

          เป็นต้น และมีแผนงานการด�าเนินการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชน มีการติดตามผลการด�าเนินงาน
          และน�าผลมาปรับปรุงแผนงานโครงการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                        เอกสารประกอบการพิจารณา: เช่น

                      แผนงาน/โครงการปรับสภาพแวดล้อมของชุมชน, ภาพกิจกรรม เป็นต้น
                    6.3 มีนโยบำยสำธำรณะที่เอื้อประโยชน์ต่อสุขภำพของคนในชุมชน
                      ชุมชนมีการด�าเนินนโยบายสาธารณะที่ให้ความส�าคัญต่อสุขภาวะที่เอื้อประโยชน์

          ต่อสุขภาพ  และพร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบายนั้น
          โดยมีแนวทางการพัฒนาที่มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อม ทั้งทางสังคม และกายภาพ ที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี

          มุ่งเน้นให้ประชาชนมีทางเลือก และสามารถเข้าถึงทางเลือกที่ก่อให้เกิดสุขภาพที่ดีได้ โดยค�านึงถึงปัจจัย
          ที่มีผลต่อสุขภาพ ได้แก่ สันติภาพ ความสงบสุข ที่อยู่อาศัย การศึกษา อาหาร รายได้ ระบบนิเวศน์ และ
          สิ่งแวดล้อมที่มั่นคง ทรัพยากรที่ยั่งยืน ความเป็นธรรม และความเท่าเทียมกันในสังคม ซึ่งผู้มีส่วนร่วม

          ในการก�าหนดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพมาจากหลายฝ่าย ได้แก่ เครือข่ายบริการสุขภาพระดับ
          อ�าเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และตัวบุคคล

                    6.4 สนับสนุนกำรจัดกิจกรรม และ/หรือ จัดตั้งกลุ่มชมรมเพื่อสุขภำพในกำรป้องกัน
          ควบคุมโรคไม่ติดต่อในชุมชนอย่ำงต่อเนื่อง
                      เครือข่ายบริการสุขภาพให้การสนับสนุน 3 M (คน เงิน ของ) หรือร่วมกับองค์กร

          ปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน ด�าเนินงานจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพ โดยชุมชนมีการจัดกิจกรรมหรือ
          จัดตั้งกลุ่ม ชมรม เพื่อสุขภาพที่มีการด�าเนินงานเป็นรูปธรรม มีแผนงาน มีการด�าเนินการตามแผน
          โดยเฉพาะกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลตัวเอง เพื่อให้คนในชุมชนได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์

          ในการดูแลสุขภาพตนเอง และเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบในชุมชน ทั้งนี้ควรมีติดตามประเมินผลการ
          ด�าเนินงานตามกิจกรรมเพื่อสุขภาพ ร่วมกันระหว่างเครือข่ายบริการสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
          ชุมชน และชมรม อย่างต่อเนื่อง

                        หมายเหตุ : เครือข่ายบริการสุขภาพ ต้องมีอย่างน้อย 1 ชมรม และต้องมีสมาชิก
          อย่างน้อย 20 คน ต่อชมรม

                        เอกสารประกอบการพิจารณา: เช่น
                      ภาพการจัดกิจกรรม/กลุ่มชมรมเพื่อสุขภาพของชุมชน เป็นต้น





          31    คู่มือแนวทางการด�าเนินงาน N C D  Clinic Plus
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43