Page 56 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 56

นอกจากนี้ วิคส์ยังตั้งข้อสังเกตอีกว่า เหรียญแบบ A คงผลิตขึ้น
              ก่อนที่นครปฐมโดยมีขนาดและน ้าหนักเฉพาะตัว ต่อมาจึงมีการผลิตเหรียญ
                                                            17
              แบบอื่นๆ โดยมีความหลากหลายเรื่องขนาดและน ้าหนัก  ทว่าเหรียญ
              ทั้งหมดนี้ก็ไม่ได้ท าขึ้นใช้ในการค้าขายแลกเปลี่ยนเท่านั้น เพราะเหรียญแบบ
              A พบว่าบรรจุอยู่ในภาชนะที่ฝังภายในศาสนสถาน แต่เหรียญแบบ B และ C
              นั้นพบแพร่หลายกว่า ที่ส าคัญคือมีทั้งเหรียญเต็มและเหรียญที่ถูกตัดแบ่งครึ่ง
                                                                       18
              ซีก (1/2) หรือเป็นเสี้ยว  (1/4) ซึ่งน่าจะใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
              ส่วนเหรียญแบบ B และ D  จากเมืองอู่ทองที่เป็นแผ่นบางและมีขนาดเล็ก
                                                                       19
              ที่สุดก็สอดคล้องกับที่เอกสารจีนในช่วงพุทธศตวรรษที่ 14  ระบุไว้นั่นเอง
              (ดูตารางในหน้าถัดไป) และวิคส์ได้เสนอแนะในตอนท้ายด้วยว่า ไม่มี
                                                                  20
              หลักฐานของเหรียญจากทวารวดีภายหลังจากช่วงพุทธศตวรรษที่ 14
                       โดยสรุปแล้ว โรเบิร์ท เอส วิคส์ มีแนวคิดว่า การผลิตเหรียญ
              ขึ้นใช้ในพิธีกรรมและใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนล้วนเป็น

              กิจกรรมในระดับรัฐ เพราะจะต้องมีการควบคุมรูปแบบ ขนาด และน ้าหนัก
              ดังนั้นความเหมือนหรือความแตกต่างของเหรียญที่พบตามพื้นที่ต่างๆ ย่อม
              แสดงให้เห็นถึงขอบเขตของการปกครอง รวมทั้งสะท้อนถึงเครือข่ายการค้า
              (ทั้งภายในและภายนอกรัฐ) ได้อีกด้วย















                                          45
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61