Page 91 - ทวารวดี ประตูสู่การค้าบนเส้นทางสายไหมทางทะเล
P. 91

ปราบดินแดนต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (หรือที่จีนเรียกว่าดินแดน
              ทะเลใต้) และบ้านเมืองหนึ่งคือเตียนซุน ซึ่งน่าจะตั้งอยู่บริเวณตอนของบน
              คาบสมุทรมลายูก็เป็นดั่งตลาดการค้าที่ส าคัญในระยะเวลานั้น
                       ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า เส้นทางการติดต่อค้าขายที่ส าคัญ

              ในช่วงราวพุทธศตวรรษที่ 6–11  คือเส้นทางการเดินเรือจากอินเดียมายัง
              คาบสมุทรมลายู แล้วเดินทางข้ามคาบสมุทรหรือมีการขนถ่ายสินค้า
              โดยบ้านเมืองตรงจุดนั้นๆ เพื่อส่งต่อไปยังบ้านเมืองฝั่งตะวันออกในทะเล
                  68
              จีนใต้  (หรือในทางกลับกัน) แต่เส้นทางข้ามคาบสมุทรไม่ได้เป็นเส้นทาง
              การค้าเพียงเส้นเดียวในช่วงเวลานั้น เพราะพระภิกษุฟาเหียนซึ่งเดินทาง
              จาริกไปยังอินเดียตามเส้นทางสายไหมทางบก ตั้งแต่ พ.ศ. 942 ก็เล่าว่าท่าน
                                                          69
              เดินทางกลับจีนทางเรือโดยขึ้นจากศรีลังกาหรือสิงหล  เมื่อ พ.ศ. 956
              แต่เรือประสบกับวาตภัยในมหาสมุทรอินเดีย ดังความว่า

                                  “เมื่อได้ท างานคัดคัมภีร์สันสกฤตส าเร็จ
                       แล้ว ฟาเหียนได้โดยสารเรือพาณิชขนาดใหญ่

                       ล าหนึ่ง ซึ่งมีผู้โดยสารในเรือกว่า 200 คน และมี
                       เรือเล็กผูกเชือกใหญ่เกาะข้างห้อยไปด้วยล าหนึ่ง
                       เพื่อเป็นก าลังในเมื่อประสบเหตุภัยอันตรายอัน
                       ร้ายแรงจากการเดินเรือ เมื่อมีลมพัดมาตามความ
                       ต้องการ นายเรือจึงด าเนินการออกเรือไปทาง

                       ตะวันออกเป็นเวลา 3 วัน ก็ไปเผชิญเข้ากับมหา
                       วาตะ เรือเกิดรั่วมีน ้าพุ่งเข้ามาภายในได้แห่งหนึ่ง
                       นายเรือพาณิชปรารถนาที่จะ (แบ่ง) ให้ไปกันโดยเรือ
                       เล็ก แต่คนที่ต่างตกใจกลัวมีอยู่บนเรือมากเกินกว่าที่

                       จะไปได้ จึงต้องตัดเชือกเรือเล็กที่ผูกติดอยู่ (ให้หลุด
                       ไป) นายพาณิชกลัวอันตรายมาก ก าลังมีความรู้สึก



                                          80
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96