Page 242 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 242
P
B E
3. ผลของการเรียนรู้กับการแสดงออกอาจจะแตกต่างกัน สิ่งที่เรียนรู้แล้ว
อาจไม่มีการแสดงออกก็ได้ เช่น ผลของการกระท�า (Consequence) ด้านบวก
เมื่อเรียนรู้แล้วจะเกิดการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ แต่ผลการกระท�าด้านลบ
อาจมีการเรียนรู้แต่ไม่มีการเลียนแบบ
การน�าหลักการมาประยุกต์ใช้
1. ในห้องเรียนครูจะเป็นตัวแบบที่มีอิทธิพลมากที่สุด ครูควรค�านึงอยู่
เสมอว่า การเรียนรู้โดยการสังเกตและเลียนแบบจะเกิดขึ้นได้เสมอ แม้ว่าครูจะไม่ได้
ตั้งวัตถุประสงค์ไว้ก็ตาม
2. การสอนแบบสาธิตปฏิบัติเป็นการสอนโดยใช้หลักการและขั้นตอน
ของทฤษฎีปัญญาสังคมทั้งสิ้น ครูต้องแสดงตัวอย่างพฤติกรรมที่ถูกต้องที่สุดเท่านั้น
จึงจะมีประสิทธิภาพในการแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ ความผิดพลาดของครูแม้
ไม่ตั้งใจ ไม่ว่าครูจะพร�่าบอกผู้เรียนว่าไม่ต้องสนใจจดจ�า แต่ก็ผ่านการสังเกตและ
การรับรู้ของผู้เรียนไปแล้ว
3. ตัวแบบในชั้นเรียนไม่ควรจ�ากัดไว้ที่ครูเท่านั้น ควรใช้ผู้เรียนด้วยกันเป็น
ตัวแบบได้ในบางกรณี โดยธรรมชาติเพื่อนในชั้นเรียนย่อมมีอิทธิพลต่อการเลียน
แบบสูงอยู่แล้ว ครูควรพยายามใช้ทักษะจูงใจให้ผู้เรียนสนใจและเลียนแบบเพื่อนที่มี
พฤติกรรมที่ดี มากกว่าผู้ที่มีพฤติกรรมไม่ดี
ดังนั้นการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการประยุกต์ใช้ทฤษฎีปัญญาสังคม
จึงเป็นปัจจัยส�าคัญ ในการเพิ่มศักยภาพความสามารถที่ทีมวิจัย การประยุกต์น�า
มาใช้ในการวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาสุขภาวะเด็กและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรม
ซึ่งอาศัยปัจจัยทั้งประสบการณ์แทนจากการสอนและการดูภาพ, หรือการลงมือ
ปฏิบัติจนเกิดประสบการณ์ของตนเอง, การสนับสนุนส่งเสริมจากสังคมรอบตัว และ
การสะท้อนกลับทางสรีร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่า ตนเองสามารถกระท�าพฤติกร
พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 241
Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research