Page 246 - พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ : พัฒนาสุขภาวะเด็กไทย ด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
P. 246

6. แบบส�ารวจการจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ภายในศูนย์ฝึกและอบรมเด็ก

            และเยาวชน ที่ออกแบบ จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการส�ารวจสิ่งแวดล้อม
            ภายในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ทีมวิจัยพัฒนาขึ้นใหม่ ประกอบด้วยข้อ
            ค�าถามมี 20 ข้อ การแปลผล แบบติดตามการจัดสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ ในศูนย์ฝึก
            และอบรมเด็กและเยาวชน คะแนนมาก หมายถึงมีการจัดการสิ่งแวดล้อมปลอด
            บุหรี่ดี คะแนนน้อย หมายถึง การจัดการสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ไม่ดี
                    7. แบบประเมินสุขภาวะโดยรวม ดัดแปลงจากแบบประเมินสุขภาวะเด็ก

            และวัยรุ่น ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขจ�านวน 9 ข้อ การแปลผล
            คะแนนมาก หมายถึงมีสุขภาวะองค์รวมในระดับดีมาก คะแนนน้อย หมายถึง
            มีสุขภาวะองค์รวมในระดับน้อยหรือไม่ดี
                    รวมทั้งหมด 168 ข้อ แบบประเมินทั้งหมดผ่านการตรวจความตรงตาม
            เนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะจ�านวน 3 ท่าน เป็นผู้ทรงคุณวุฒิด้านการพยาบาล
            และด้านจิตวิทยาจากกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จ�านวน 2 ท่าน
            ประกอบด้วย อาจารย์พยาบาลช�านาญการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ จ�านวน 1 ท่าน

            ผู้บริหารกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนกระทรวงยุติธรรมที่มีประสบการณ์
            ดูแล เด็กและเยาวชนมานานกว่า20ปี จ�านวน 2 ท่าน แบบประเมิน ทุกชุดมีค่า CVI
            เท่ากับ 0.93 เท่ากัน
                    การทดสอบความเชื่อมั่นของแบบประเมินชุดที่ 2-7 ด�าเนินการหลัง
            ผ่านการรับรองจริยธรรมการวิจัยในคนจากมหาวิทยาลัยมหิดลและสถาบันวิจัย

            และพัฒนากรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนแล้ว โดยน�าไป ทดลองใช้กับเด็ก
            และเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ที่มีคุณลักษณะคล้ายกับกลุ่ม
            ตัวอย่าง จ�านวน 25 คน จากนั้นน�ามาวิเคราะห์สัมประสิทธิ์ ครอบบาคอัลฟ่า
            ค่ามากกว่า0.7ขึ้นไปหรือเท่ากับ07 จึงจะน�ามาใช้เก็บข้อมูลจริงต่อไป













                            พินิจด้วยรัก พิทักษ์ด้วยใจ:พัฒนาสุขภาวะเด็กไทยด้วยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ   245
             Consider with Love, Protect with Heart: Health Development among Youth via Participation Action Research
   241   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251