Page 42 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 2 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 42

การปฐมพยาบาลและการรักษาผู้ประสบภัยที่ได้รับสารฟอสจีน (Phosgene)
                          ฟอสจีน เป็นสารที่ไม่มีสี  มีกลิ่นเหมือนฟางข้าวที่เก็บเกี่ยวใหม่ หนักกว่าอากาศ 4 เท่า ใช้ใน

               อุตสาหกรรมย้อมสี ยาฆ่าแมลง และเภสัชกรรม มีการใช้สารนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 และในสถานการณ์
               เมืองโบพอลประเทศอินเดียสารนี้ท าให้คนตายถึง 3,300 คน อวัยวะเป้าหมาย คือ ตา ผิวหนัง ระบบทางเดิน
               หายใจ การปฐมพยาบาลและการรักษาส าหรับผู้ประสบภัยที่ได้รับสาร Phosgene ได้แก่

                      1)  น าผู้ป่วยออกสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์
                      2)  ประเมิน ABCS
                      3)  ถอดเครื่องนุ่งห่ม Decontamination ด้วยน้ าสะอาดจ านวนมากอย่างน้อย 15 นาที
                      4)  Chest x-ray, arterial blood gas

                      5)  บ าบัดอาการ Hypotension, hydration
                      6)  ให้ Bronchodilators ถ้าหายใจมีเสียง wheezing
               การปฐมพยาบาลและการรักษาผู้ประสบภัยที่ได้รับสารคลอรีน (Chlorine)
                      คลอรีน  เป็นก๊าซสีเหลืองอมเขียว มีกลิ่นฉุนเฉพาะ ใช้มากในวงการอุตสาหกรรมและก่อให้เกิดผู้

               เจ็บป่วยจากการสูดดมสารนี้เป็นจ านวนมาก  ท าให้เกิดอาการระคายเคืองต่อตา  และปอด ท าให้เกิดอาการไอ
               หายใจไม่สะดวก หอบ ปอดอักเสบแบบ Non-cardiogenic pulmonary edema  ผู้ป่วยมักเสียชีวิตจาก
               Hypoxia วิธีการการปฐมพยาบาล
                      1)  น าผู้ป่วยออกสู่ที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์

                      2)  ช าระล้างด้วยน้ า
                      3)  ให้ออกซิเจน ให้ไอเย็น ชดเชยสารน้ า
                      4)  ให้ยาขยายหลอดลม ใช้เครื่องช่วยหายใจ


               การปฐมพยาบาลและการรักษาผู้ประสบภัยที่ได้รับแก๊สน  าตา
                          แก๊สน้ าตาเป็นสารที่มักใช้ในการควบคุมการจลาจล  ได้แก่ CN (Mace), CS, OC (Oleoresin

               capsicum, capsaicin, Pepper spray), DM (Adamite-สารท าให้อาเจียน) ผลกระทบจากการได้รับแก๊ส
               น้ าตาคือ ท าให้เกิดการระคายเคืองต่ออวัยวะต่างๆ ได้แก่ ตา เยื่อบุจมูก ทางเดินหายใจ เยื่อบุช่องปากและ
               ผิวหนัง ถ้าเข้าตาจะท าให้น้ าตาไหล แสบตา หนังตาบวม เยื่อบุตาบวม ลืมตาไม่ขึ้น  รวมทั้งอาจท าให้ตามองไม่
               เห็นหรือตาบอดชั่วคราว อาจท าให้เกิดแผลที่กระจกตาได้ ถ้าสูดดมจะท าให้ไอ เจ็บคอ จาม มีเสมหะ แน่น
               หน้าอก หายใจล าบาก อาจมีหลอดลมตีบจนหายใจไม่ออกออกฤทธิ์นาน 10-30 นาที อาการมักหายไปได้เองใน

               30 นาที แต่อาจมีอาการอยู่ได้นานถึง 24 ชั่วโมงขึ้นไปหรือนานถึง 3 วันก็ได้
                           การปฐมพยาบาล
                      1)  สิ่งแรกคือหลีกเลี่ยงออกไปอยู่พื้นที่ที่ไม่มีควันแก๊สน้ าตา

                      2)  รีบล้างตาด้วยน้ าสะอาดหรือน้ าเกลือในปริมาณมากๆ ทันที วิธีการล้างให้ปล่อยน้ าให้ไหลผ่าน
               ดวงตา เบาๆ นานสักระยะเพื่อให้น้ าล้างแก๊สน้ าตาออกให้หมด อย่าล้างด้วยน้ าแรงเกินไปจะท าให้ดวงตาอักเสบ
               หรือกระจกตาเสียหายได้
                       3)  ล้างใบหน้า มือ แขน ขา ด้วยสบู่หรือน้ าเปล่า

                       4)  รีบเปลี่ยนเสื้อผ้าทันที




               42
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47