Page 39 - วิชาการพยาบาลสาธารณภัยเล่มที่ 2 : สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย
P. 39

1) การท าให้อาเจียน (Emesis) จะให้ผลดีในการก าจัดสารพิษที่รับประทานเข้าไปไม่เกิน 4
               ชั่วโมง และใช้ในกรณีที่ผู้ได้รับสารพิษรู้สึกตัวดีเท่านั้น อาจท าได้โดย การล้วงคอ ซึ่งอาจใช้นิ้วมือ หรือวัตถุปลาย

               ทู่ เช่น ด้ามช้อน กระตุ้นบริเวณโคนลิ้น หรือให้สารกระตุ้นการอาเจียน เช่น
                                        -  Syrup ipecac ใช้ได้ดีในการปฐมพยาบาล เพราะได้ผลดี ออกฤทธิ์เร็วสะดวกและ
               ปลอดภัย Syrup ipecac มีฤทธิ์กดระบบประสาท หลังให้อาจท าให้ซึม หลับ ไม่รู้สึกตัว ซึ่งต้องระมัดระวังเรื่อง

               การส าลัก
               ข้อห้ามในการท าให้อาเจียน 1) ไม่รู้สึกตัว หมดสติ ชัก
                                                  2) เป็นโรคหัวใจหรือตั้งครรภ์
                                                  3) รับประทานสารพิษที่กัดท าลายเนื้อเยื่อ เช่น กรดหรือด่างเข้มข้น

                                                  4) รับประทานพวกผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม เช่น น้ ามันเบนซีน น้ ามันก๊าด
                                                  5) รับประทานสารพิษจ าพวกที่ก่อให้เกิดอาการชัก เช่น เห็ดพิษ ยาฆ่าแมลง
                                                  6) ไม่ทราบว่าเป็นสารพิษชนิดใด
                                   2) การล้างท้อง (Gastric lavage) การล้างท้องสามารถท าได้ภายใน 60 นาทีหลังจากผู้ป่วย

               ทานยาเกินขนาด โดยช่วงเวลาที่มีประสิทธิภาพในการท าการล้างท้องผู้ป่วยจะอยู่ประมาณ 5-30 นาทีหลังจาก
               ผู้ป่วยทานยาเกินขนาด ห้ามท าการล้างท้องในผู้ป่วยที่ทานกรด ด่างหรือสารในกลุ่ม hydrocarbon ซึ่งมีโอกาส
               ที่ท าให้เกิดอาการส าลักได้ง่าย (คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2563)
                                        สารละลายที่ใช้ สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.9 % หรือยาต้านพิษ (antidote)

                                        ขั นตอนการล้างกระเพาะ ควรจะใส่ทางปากมากกว่าทางจมูกเนื่องจากสามารถใส่ท่อได้ใน
               ขนาดที่ใหญ่กว่าทางจมูก เพื่อให้สามารถล้างเม็ดยาที่มีขนาดใหญ่ออกมาได้ โดยขนาดท่อที่ใช้ในการท า
               orogastric lavage ในผู้ใหญ่ควรเป็นขนาด 36-40 French และในเด็กจะใช้ขนาด 22-28 French (กิตติศักดิ์

               แสนประเสริฐ, 2564) ใช้สารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.9 % ในการล้างกระเพาะอาหาร จ านวนของสารละลาย
               ที่ใช้ ประมาณ 300-500 ml. เพื่อให้สามารถล้างกระเพาะอาหารได้ทั่วถึง ใช้กระบอกฉีดยาส าหรับให้อาหารใส่
               สารละลายเข้าและดูดออก เมื่อเริ่มท า ให้ดูดน้ า 30-50 ml. ใส่เข้าไปก่อน หากใส่ไม่เข้าอาจเนื่องจากปลายสาย
               ติดกับผนังชั้นในของกระเพาะอาหาร ให้แกะพลาสเตอร์ที่ติดสายไว้ออก ขยับและเลื่อนสายเข้าออก (แต่ไม่ควร
               ดึงออกมาเกิน 1 นิ้ว) เพื่อให้ปลายสายไม่ติดกับผนังของกระเพาะอาหาร ติดพลาสเตอร์ตามเดิมแล้วจึงล้างด้วย

               การใส่น้ าเข้าแล้วดูดออก จนกว่าน้ าที่ดูดออกมาใสจึงเลิกท า บีบสายแล้วดึงออก
                                        ข้อบ่งชี ในการล้างท้อง : มักท าในผู้ที่ไม่รู้สึกตัว ผู้ได้รับสารพิษซึ่งมีผลไปกดระบบ
               ประสาทส่วนกลาง ผู้ที่ไม่มี Gag reflex   และ ผู้ที่ไม่ให้ความร่วมมือในการท าให้อาเจียน

                             5.4.2 การท าให้สารพิษเจือจางโดยให้สารดูดซึม (Absorbent)
                                     สิ่งที่ให้ผู้ได้รับสารพิษดื่มหรือรับประทานเพื่อช่วยดูดซึมสารพิษ ท าให้สารพิษถูกดูดซึมช้าลง
               ช่วยเคลือบและป้องกันอันตรายต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร แล้วขับถ่ายออกทางปัสสาวะหรืออุจจาระ ได้แก่
                                   - น  าหรือน  านม: ให้ปริมาณ 1 ลิตร ส าหรับผู้ใหญ่ และ 1-2 แก้ว ในเด็ก อย่างไรก็ตามการให้
               ดื่มน้ าเหมาะส าหรับสารประเภทกัดและท าลายเนื้อเยื่อแต่ไม่เหมาะส าหรับสารพิษชนิดอื่นเพราะแม้ว่าการดื่ม

               น้ ามาก ๆ จะช่วยเจือจางพิษได้ก็จริงแต่ก็ท าให้พิษถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้เร็วขึ้นด้วยเช่นกัน
                                   - น  าแป้งสุก: แป้งครึ่งช้อนโต๊ะ ผสมน้ า 1 แก้ว
                                   - ไข่ขาวดิบ:  3-4 ฟอง





                                                                                                       39
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44